Page 370 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 370

357


               ผลการศึกษาพบว่าเจ้าพนักงานต ารวจที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านการจับกุมร้อยละ ๓๘.๑ มีอายุระหว่าง ๓๖ ถึง ๔๕
               ปี จบการศึกษาในระดับอาชีวะศึกษา/อนุปริญญา ร้อยละ ๓๖.๗ ส่วนใหญ่เป็นนายต ารวจชั้นประทวนซึ่งมี

               ยศพลต ารวจ นายดาบต ารวจ ร้อยละ ๘๘.๕ อายุราชการมากกว่า ๑๕ ปี ร้อยละ ๕๐.๔ และมีประสบการณ์

               ท างานด้านการจับกุมเป็นเวลามากกว่า ๑๕ ปี ถึงร้อยละ ๓๗.๖ ภาพรวมปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาการจับกุมตาม
               รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ ทั้งในด้านการคุ้มครองสิทธิของเหยื่อ ด้านขวัญและก าลังใจ

               มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่งโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๘, ๗๔.๕๑ และ ๔.๔๘ ตามล าดับ
               ส่วนในด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและด้านการคุ้มครองสิทธิผู้ต้องหาหาที่มีผลต่อปัญหาในการจับกุม มีระดับ

               ความเห็นค่าเฉลี่ย ๔.๐,  ๓๓.๗๘ และ ๓.๖๔ ตามล าดับ กลุ่มตัวอย่างที่ส ารวจมีระดับความคิดเห็นว่าปัจจัย

               เหล่านี้มีผลต่อการเกิดปัญหาในการจับกุม แสดงให้เห็นว่าปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้เกิดปัญหาในการจับกุม จาก
                                   ั
               การทดสอบความสัมพนธ์ระหว่างทัศนะ   ต่อปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาการจับกุมกับปัญหาการจับกุมตาม

               รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ พบว่าทัศนะต่อปัจจัยด้านเงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ การ
               คุ้มครองสิทธิผู้ต้องหาด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านงบประมาณ และด้านขวัญก าลังใจในการปฏิบัติงานมี

               ความสัมพนธ์ทางลบกับปัญหาการจับกุมตามรัฐธรรมนูญอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕
                         ั
               ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับเปลี่ยนแนวทางการปฏิบัติงานควรให้สิทธิกับเจ้าหน้าที่ต ารวจชั้นประทวนมี
               อ านาจในการขอหมายได้ ควรมีการเสนอให้ค่าตอบแทนให้มากขึ้นกว่าเดิม เพราะขั้นตอนการท างานที่มากขึ้น

               ต้องเดินทางไปในต่างพื้นที่ ควรดูแลเรื่องฝันก าลังใจบุคลากรมากกว่านี้ เพราะปัจจุบันต ารวจถูกร้องเรียนมาก

                                                                                         ิ่
               ขึ้น เมื่อให้ความคุ้มครองสิทธิผู้ต้องหา ก็ควรให้สิทธิกับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้วย และเพมวัสดุปกรณ์สื่อสาร
               ให้ต ารวจสามารถสืบสวนจับกุมได้สะดวกขึ้น โดยเฉพาะการให้การสนับสนุนในด้านต่าง ๆ และให้

               ขวัญก าลังใจแก่เจ้าพนักงานต ารวจ เป็นข้อประกอบด้วย  จากผลการศึกษาวิจัยดังกล่าวน่าเชื่อว่าจะมี
                                                                 9
                                                                                              ื่

               ผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ในการติดตามจับกุมผู้หลบหนีของเจ้าพนักงานผู้มีอานาจเพอให้ได้ตัวมา
               ด าเนินคดีและบังคับตามค าพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองด้วย
                            ๒.๒ มาตรการทางกฎหมายและวิธีปฏิบัติที่ใช้ในการติดตามจับกุม
                           ในปัจจุบันมีมาตรการทางกฎหมายและวิธีปฏิบัติที่ใช้ในการติดตามจับกุมผู้หลบหนีซึ่งบัญญัติไว้ใน

               กฎหมายหลายฉบับ เห็นสมควรน ากฎหมายที่ส าคัญมาศึกษาวิเคราะห์เฉพาะที่เกี่ยวกับคดีของศาลฎีกา

               แผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง ได้แก่ ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา
                                                                                       ิ
               พระราชบัญญัติมาตรการก ากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐ และ

               พระราชบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดน พ.ศ. ๒๕๕๑
                            ๒.๒.๑ มาตรการทางกฎหมายและวิธีปฏิบัติที่ใช้ในการติดตามจับกุมผู้หลบหนี ซึ่งบัญญัติไว้ใน

               ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา และพระราชบัญญัติมาตรการก ากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนี
                                  ิ
               การปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐





                       9
                         อนุชิต ลายลักษณ์ (๒๕๔๗)
   365   366   367   368   369   370   371   372   373   374   375