Page 369 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 369
356
ประสบการณ์มากกว่า สามารถวางแผนงานหรือสามารถปฏิบัติงานได้อย่างรอบคอบ ไม่ค่อยผิดพลาด และลด
5
อันตรายจากผู้ที่ขัดขวางการปฏิบัติงานของต ารวจด้วย
๒.๑.๒ โอกาสก้าวหน้าในการปฏิบัติหน้าที่ เจ้าหน้าที่ต ารวจชั้นประทวนย่อมต้องการ
ความก้าวหน้าในการท างานกล่าวคือย่อมต้องการที่จะมียศต าแหน่งสูงขึ้น โอกาสก้าวหน้าในการปฏิบัติหน้าที่
จึงนับได้ว่าเป็นสิ่งจูงใจให้เกิดความตั้งใจในการท างานอย่างเต็มก าลังความสามารถ โดยมีผู้วิจัยได้ศึกษาและ
ึ้
6
อธิบายว่า ความก้าวหน้าเป็นปัจจัยกระตุ้นหรือเป็นตัวจูงใจให้คนท างานหนักขน
ี
๒.๑.๓ การใช้ประโยชน์จากวิทยาการต ารวจ ถือได้ว่าเป็นปัจจัยที่ส าคัญอกส่วนหนึ่งที่ช่วยส่งเสริม
การปฏิบัติหน้าที่ด้านการสืบสวนจับกุมผู้กระท าผิดกฎหมายให้ประสบผลส าเร็จดีขึ้น การสืบสวนนั้นนอกจาก
จะใช้ความสามารถเฉพาะตัวของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติแล้วยังจะต้องใช้ความรู้วิทยาการต ารวจเกื้อกูลสนับสนุน
ด้วย
๒.๑.๔ ภาวะผู้น าของผู้บังคับบัญชา มีการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้บังคับบัญชาที่มีภาวะผู้น าที่ดีย่อม
เป็นบุคคลที่สามารถวางเป้าประสงค์และวัตถุประสงค์ที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน รวมทั้งสามารถใช้อานาจ
หน้าที่และบารมีจูงใจให้บุคลากรในหน่วยงานร่วมแรงร่วมใจกันท างานเพื่อวัตถุประสงค์ของหน่วยงานได้อย่าง
มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (Wilson & Mclaren)
7
๒.๑.๕ การได้รับสนับสนุนด้านต่าง ๆ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการศึกษาครั้งนี้หมายถึงเครื่องมือ
เครื่องใช้เครื่องอานวยความสะดวกในการปฏิบัติหน้าที่ด้านการสืบสวน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้มีความส าคัญในการ
ส่งเสริมปฏิบัติหน้าที่สืบสวนจับกุมให้ได้ผลดีและมีประสิทธิภาพ จากการศึกษาวิจัยพบว่า ในการปฏิบัติงาน
ของต ารวจ หากไม่ได้รับการสนับสนุนด้านการท างานที่เกี่ยวกับการขอปรับปรุงก าลังต ารวจขอเครื่องมือ
8
สื่อสาร ตลอดจนการสนับสนุนในทุก ๆ ด้าน จะท าให้ประสิทธิภาพของการท างานลดลง
๒.๑.๖ สวัสดิการและที่พกอาศัย ในปัจจุบันข้าราชการต ารวจมีค่าใช้จ่ายในการด ารงชีพสูง
ั
ดังนั้นหากมีสวัสดิการไม่เพยงพอ ท าให้ต้องหนทางอน เช่น ท างานพเศษ หรือแสวงหาผลประโยชน์จาก
ี
ื่
ิ
ั
อ านาจหน้าที่ท าให้มีผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่สืบสวนจับกุมได้ นอกจากนี้ยังขาดแคลนที่พกอาศัยหรือที่
พักอาศัยอยู่ห่างไกลจากสถานที่ทางานด้วย
๒.๑.๗ การได้รับความร่วมมือจากประชาชน เช่น การแจ้งข่าวสารหรือเบาะแสของผู้หลบหนี
และช่วยเหลือต ารวจในการสืบสวนจับกุม นับได้ว่าเป็นการส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานต ารวจให้
ผสมให้ประสบผลส าเร็จได้ดียิ่งขน
ึ้
นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาวิจัยปัญหาที่มีผลกระทบต่อการจับกุมเฉพาะด้านเจ้าพนักงานต ารวจ
กองก ากับการ ๒ กองปราบปราม โดยวิธีส ารวจความคิดเห็นของเจ้าพนักงานต ารวจในหน่วยงานดังกล่าว
5 สมเกียรติ พ่วงทรัพย์ (๒๕๖๒, น. ๘๕)
6 ประพันธ์ สุริหาร (๒๕๒๒, น. ๖๕)
7 ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ (๒๕๓๐, น. ๔๒)
8 สมเกียรติ พ่วงทรัพย์ (๒๕๒๖, น.๘๑)