Page 373 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 373

360


                                                  ิ
               เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา  ในมาตรา ๕ (๔) ก าหนดให้เจ้าพนักงาน
               ต ารวจศาลเป็นผู้จัดการตามหมายจับผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่หลบหนีในชั้นปล่อยชั่วคราวของศาล หรืออาจให้

               เจ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจเป็นผู้จัดการตามหมายจับโดยมีเจ้าพนักงานต ารวจศาลเป็นผู้สนับสนุน

               ด้วยก็ได้ และในมาตรา ๑๐ บัญญัติให้เจ้าพนักงานต ารวจศาลเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
               ซึ่งหมายความว่าพระราชบัญญัติเจ้าพนักงานต ารวจศาลได้ก าหนดตัวเจ้าพนักงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการ

                                                    ื่
               จัดการตามหมายจับของศาลไว้โดยตรง เพอประโยชน์ในการสืบสวนและติดตามจับกุมผู้หลบหนีคดีในชั้น

               ปล่อยชั่วคราว โดยเมื่อศาลออกหมายจับแล้วให้ศาลมีอานาจมีค าสั่งตั้งเจ้าพนักงานต ารวจศาลขึ้นเป็น
               ผู้รับผิดชอบในการจับกุม หรือให้สนับสนุนเจ้าพนักงานต ารวจในการจับกุมด้วยอกทางหนึ่ง ซึ่งเจ้าพนักงาน
                                                                                   ี

               ต ารวจที่ศาลตั้งจะมีความเชี่ยวชาญในการสืบสวนจับกุม และมีอานาจหน้าที่ปฏิบัติตามค าสั่งศาล
               โดยปราศจากอ านาจครอบง าจากฝ่ายใด ๆ  อันจะท าให้การจับกุมมความรวดเร็วและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
                                                                       ี
                         ๒.๒.๒ มาตรการทางกฎหมายและวิธีปฏิบัติที่ใช้ในการติดตามจับกุมผู้หลบหนีซึ่งบัญญัติไว้
               ในพระราชบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดน พ.ศ. ๒๕๕๑

                            ส าหรับกรณีผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยได้หลบหนีไปอยู่ในต่างประเทศนั้น รัฐที่ได้รับความเสียหาย

               ย่อมไม่สามารถที่จะด าเนินคดีเอาผิดแก่บุคคลดังกล่าวได้ เนื่องจากรัฐที่ได้รับความเสียหายจะไม่สามารถเข้า
                                                                                                    ื่
               ไปด าเนินการติดตามจับกุมผู้กระท าผิดในรัฐอนได้ เพราะเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐนั้น ดังนั้น เพอเป็น
                                                     ื่
               การแก้ปัญหาหรืออดช่องว่างทางกฎหมายในการที่จะน าตัวที่อาศัยอยู่กลับมาด าเนินคดีในต่างประเทศได้ คือ
                                ุ
               ความร่วมมือของทั้งสองรัฐดังกล่าว โดยรัฐผู้เสียหายจะต้องท าการร้องขอไปยังรัฐที่ผู้กระท าความผิดนั้นอาศัย
               หรือหลบซ่อนอยู่ ให้ด าเนินการส่งตัวบุคคลดังกล่าวมาด าเนินคดีอาญาและลงโทษตามกฎหมายของรัฐ

                                                                            ื
               ผู้เสียหาย ( มาตรา ๕ ) ซึ่งความร่วมมือในลักษณะดังกล่าวเป็นความร่วมมอระหว่างประเทศทางอาญาที่เรียก
               กันว่า “การส่งผู้ร้ายข้ามแดน” (Extradition)
                            มีผู้ศึกษาวิจัยพบว่า  เจ้าพนักงานต ารวจที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการส่งผู้ร้ายข้ามแดนส่วนใหญ่ยังมี
                                         10
               ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย แนวคิด หลักเกณฑ์ และขั้นตอนการปฏิบัติในเรื่องนี้ค่อนข้างน้อย
                                                                     ื่
               จึงสมควรศึกษาวิเคราะห์ถึงหลักเกณฑ์การส่งผู้ร้ายข้ามแดน เพอเป็นแนวปฏิบัติให้กับเจ้าพนักงานต ารวจ
               ซึ่งหลักเกณฑ์ในการส่งผู้ร้ายข้ามแดนต้องประกอบด้วย

                            ๑) ต้องเป็นความผิดที่อาจมีการส่งผู้ร้ายข้ามแดนได้ (Extradition offences) หมายถึงความผิด
               ที่สนธิสัญญาระหว่างประเทศได้ระบุฐานความผิดไว้โดยเฉพาะเจาะจงในสนธิสัญญาระหว่างกัน (มาตรา ๗)

                            ๒) หลักต่างตอบแทน (Reciprocity) หลักการนี้จะใช้ในกรณีที่ไม่มีสนธิสัญญาหรือข้อตกลง
                                                                                            ิ
               ในความร่วมมือทางอาญาระหว่างกัน แต่ประเทศผู้ร้องขอและประเทศผู้รับค าร้องขอได้พจารณาแล้วว่า
               จะด าเนินการให้ความช่วยเหลือการด าเนินคดีอาญาแก่กันและเป็นการตอบแทนในลักษณะเดียวกัน








                       10
                          พ.ท.ต. เกชา สุขรมณ์, (๒๕๖๑)
   368   369   370   371   372   373   374   375   376   377   378