Page 375 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 375

362


                                                ี
                            ๔)   พยานหลักฐานไม่เพยงพอ (Insufficiency of Evidence) ซึ่งมีที่มาจากสนธิสัญญา
               สหประชาชาติว่าด้วยการส่งผู้ร้ายข้ามแดน (United nation model treaty on Extradition) มาตรา ๔ (d)

                                                      ี่
               ซึ่งเป็นแม่แบบในข้อยกเว้นเรื่องความผิดในคดีทมีโทษประหารชีวิต

                                                ี
                             )  พยานหลักฐานไม่เพยงพอ (Insufficiency of Evidence) ซึ่งมีที่มาจากสนธิสัญญา
                        ๕
               สหประชาชาติว่าด้วยการส่งผู้ร้ายข้ามแดน มาตรา ๓ ซึ่งก าหนดข้อยกเว้นให้ประเทศภาคีสมาชิกสามารถ
               ปฏิเสธไม่ส่งผู้ร้ายข้ามแดนได้หากพยานหลักฐานไม่เพยงพอตามมาตรฐานกฎหมายลักษณะพยานของ
                                                              ี
               ประเทศผู้ถูกร้อง

                                                                           ิ
                             คดีตัวอย่าง นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี หากพจารณาตามสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้าม
                                                          ื่
                                                      ้
                                        ู
               แดนข้างต้น เหตุที่รัฐบาลกัมพชาจะใช้เป็นข้ออางเพอไม่ส่งอดีตนายกรัฐมนตรี นายทักษิณ ชินวัตร ในฐานะ
                                                                                          ิ
               เป็นผู้ร้ายข้ามแดนนั้นมิได้มีแค่เรื่องความผิดทางการเมืองตามข้อ (๑) เท่านั้น แต่หากพจารณาจากค าให้
                                                                                        ื่
                                        ุ
                                                                                    ้
               สัมภาษณ์ของนายกรัฐมนตรีฮนเซนแล้ว รัฐบาลกัมพชาใช้เหตุตามข้อ (๑) เป็นข้ออางเพอปฏิเสธการส่งผู้ร้าย
                                                           ู
               ข้ามแดน ซึ่งหมายถึงความผิดทางการเมือง (โดยแท้)
                                                                                           ิ
                            คดีนายปิ่น จักกะพาก ซึ่งศาลแขวงได้ไต่สวนพยานหลักฐานทั้งสองฝ่ายแล้วมีค าพพากษาเมื่อวันที่
               ๗ มีนาคม ๒๕๔๔ ว่านายปิ่นมีความผิด ๗ คดี ให้ส่งตัวกลับมายังประเทศไทยแต่นายปิ่นได้อทธรณ์ค า
                                                                                                 ุ
               พิพากษาต่อศาลสูงและศาลสูงได้วินิจฉัยคดีว่า โจทก์ไม่มีพยานหลักฐานเพียงพอที่จะรับฟังว่าจ าเลยได้กระท า

               ความผิดตามข้อกล่าวหาของรัฐบาลไทย ในที่สุดศาลสูงขององกฤษมีค าพพากษาเมื่อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม
                                                                              ิ
                                                                   ั
               ๒๕๔๔ กลับค าพพากษาของศาลแขวงเป็นให้ยกฟองคดีทุกข้อหา และปล่อยตัวนายปิ่น โดยวินิจฉัยใน
                              ิ
                                                           ้
               ประเด็นส าคัญว่า โจทก์ไม่มีพยานหลักฐานใดบ่งชี้หรือสนับสนุนพสูจน์ได้ว่านายปิ่นกระท าโดยมีเจตนาทุจริต
                                                                     ิ
               ตามข้อกล่าวหา และไม่มีพยานหลักฐานเพียงพอที่คณะผู้พิพากษาจะวินิจฉัยลงโทษนายปิ่นได้ จะเห็นได้ว่าคดี
                                                        ั
               ของนายปิ่นนั้นไม่ถือเป็นความผิดตามกฎหมายองกฤษ เพราะสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนระหว่างประเทศ
                                                                                                    ้
                       ั
               ไทยกับองกฤษนั้นจะต้องพสูจน์ให้ได้ว่าข้อกล่าวหาในความผิดของนายปิ่นตามที่รัฐบาลไทยกล่าวอางนั้น
                                      ิ
               หากเกิดในประเทศอังกฤษจะต้องเป็นความผิดตามกฎหมายอังกฤษด้วย
                                                         ั
                           คดีนายราเกซ สักเสนา ส านักงานอยการสูงสุด โดยส านักงานต่างประเทศได้ร้องขอต่อ
               พนักงานอยการแคนาดา และต่อมาพนักงานอยการแคนาดาร้องขอต่อศาลแคนาดา จนศาลมีค าสั่งให้ส่งตัว
                        ั
                                                      ั
               นายราเกซไปยังประเทศไทย แต่นายราเกซต่อสู้ในศาลอทธรณ์เพอไม่ต้องถูกส่งตัวและศาลอทธรณ์แคนาดา
                                                                                            ุ
                                                                     ื่
                                                              ุ
               พพากษายืน ทั้งนี้เป็นไปตามพระราชบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดน พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง
                 ิ
               ประเทศทางอาญา

                                                                                                     ั
                            ดังนั้น การส่งผู้ร้ายข้ามแดนจึงเป็นมาตรการทางกฎหมายที่ส าคัญซึ่งน ามาใช้ในคดีที่เกี่ยวพนกัน
               ระหว่างประเทศ แต่ก็มีปัญหาบางประการในการส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ
   370   371   372   373   374   375   376   377   378   379   380