Page 377 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 377

364


               ขาดประสิทธิภาพ ยังมีผลกระทบกระบวนการยุติธรรมโดยรวมด้วย ปัญหาการไม่ได้ตัวผู้หรือจ าเลยเข้าสู่
                                   ื่
               กระบวนการยุติธรรมเพอพิสูจน์ความจริงว่าผิดหรือบริสุทธิ์ จึงเป็นเรื่องส าคัญอย่างยิ่ง ซึ่งจากการศึกษาพบว่า
                                      ื่
               ปัญหาในการด าเนินการเพอให้ได้ตัวผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยมาด าเนินคดีและบังคับตามค าพพากษาของ
                                                                                               ิ
               ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง คือ เจ้าพนักงานผู้มีอานาจจัดการตามหมายจับ

               และมาตรการทางกฎหมายและวิธีปฏิบัติที่ใช้ในการติดตามจับกุม โดยพบว่ามีปัจจัยส าคัญที่กระทบต่อการ


               ติดตามจับกุมของเจ้าพนักงานผู้มีอานาจจับกุมดังกล่าว โดยเฉพาะเจ้าพนักงานต ารวจ ได้แก่ การขาด
               ประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่ด้านการสืบสวนจับกุม ขาดความรู้ความเข้าใจมาตรการทางกฎหมายหรือวิธี

               ปฏิบัติในการติดตามจับกุม ขาดบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านการต่างประเทศ ขาดความเป็นอสระ
                                                                                                     ิ
               ขาดแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ ขาดการสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด และขาดความร่วมมือจาก
                                        ี
               ประชาชน การศึกษายังพบอกว่ามีมาตรการและวิธีปฏิบัติที่จะน ามาใช้ในการติดตามจับกุมผู้หลบหนีซึ่ง
               บัญญัติไว้ในกฎหมายหลายฉบับ ได้แก่ ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญาพระราชบัญญัติมาตรการ
                                                                   ิ
               ก ากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติเจ้าพนักงาน

               ต ารวจศาล พ.ศ. ๒๕๖๒ และพระราชบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดน พ.ศ. ๒๕๕๑ แต่ในทางปฏิบัติว่ายังไม่มีการน า

               มาตรการและวิธีปฏิบัติดังกล่าวมาบังคับใช้อย่างจริงจัง จึงมีข้อเสนอแนะดังนี้


                            ๑) ศาลยุติธรรมเควรจัดอบรมสัมมนาให้ความรู้ความเข้าใจแก่เจ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจ
                                                          ื่
               และประชาชน โดยมีวัตถุประสงค์ในการให้ความรู้เพอให้ทราบถึงมาตรการในการติดตามจับกุมที่บัญญัติไว้ใน
                                                         ิ
               กฎหมายฉบับต่าง ๆ เช่น ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา พระราชบัญญัติมาตรการก ากับและ
               ติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐ และพระราชบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดน พ.ศ.
                                   ื่
               ๒๕๕๑ เป็นต้น และเพอให้ทราบวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในการสืบสวนและติดตามจับกุมผู้หลบหนีในชั้นปล่อย
               ชั่วคราวของศาล หากเป็นการหลบหนีไปต่างประเทศ ควรเชิญวิทยากรที่มีความรู้ในกฎหมายและมี
               ประสบการณ์เกยวกับการขอส่งผู้ร้ายข้ามแดนมาให้ความรู้ถึงหลักเกณฑ์ของกฎหมาย ขั้นตอนการด าเนินการ
                            ี่
               การจัดเตรียมเอกสาร และแนวปฏิบัติที่ถูกต้องในการขอส่งผู้ร้ายข้ามแดน ซึ่งประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาก

               การสัมมนาดังกล่าว นอกจากจะท าให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในมาตรการทางกฎหมายและวิธี
               ปฏิบัติที่ถูกต้องในการติดตามจับกุมผู้หลบหนีแล้ว ยังเป็นเวทีสาธารณะให้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และรับฟง
                                                                                                        ั
               ปัญหาของทุกฝ่ายอีกด้วย


                            ๒) ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองควรเชื่อมโยงฐานข้อมูลการออก
               หมายจับร่วมกับศาลยุติธรรมและส านักงานต ารวจแห่งชาติเพื่อเพิ่มโอกาสในการจับกุมผู้หลบหนีหมายจับของ

               ศาลได้อย่างรวดเร็ว โดยทันทีที่ศาลออกหมายจับแล้ว ข้อมูลหมายจับจะไปปรากฏยังฐานข้อมูลส านักงาน

               ต ารวจแห่งชาติ และสถานีต ารวจทั่วประเทศ ซึ่งเจ้าพนักงานต ารวจสามารถคัดส าเนาหมายจับไปด าเนินการ
               จับกุมได้อย่างรวดเร็ว
   372   373   374   375   376   377   378   379   380   381   382