Page 376 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 376

363



                            ๑) ปัญหาอานาจอธิปไตยของรัฐในการใช้อานาจทางศาลเกี่ยวกับการขอส่งผู้ร้ายข้ามแดน


               กล่าวคือมักจะอางหลักเกณฑ์เรื่องเขตอานาจศาลเหนือดินแดนหรือบุคคลเพอขอให้ส่งตัวบุคคลเป็นผู้ร้ายข้าม
                            ้
                                                                              ื่
               แดน โดยอาศัยหลักดินแดน (Territorial principle) หลักผลประโยชน์ที่รัฐถึงคุ้มครอง (protection
               principle) และหลักความผิดสากล (Universality Principle) แต่ในทางปฏิบัติไม่มีรัฐใดอางหลักเกณฑ์
                                                                                             ้
               ดังกล่าวในการขอส่งตัวบุคคลเป็นผู้ร้ายข้ามแดนได้อย่างง่ายดาย เพราะรัฐทุกรัฐไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ก็ย่อมม ี

               อ านาจอธิปไตยเท่าเทียมกัน


                           ๒) ปัญหาในการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวกับการด าเนินการเสนอค าร้องขอส่งผู้ร้ายข้ามแดน
               รวมทั้งการจับกลุ่มและคุมขังชั่วคราวนั้น เจ้าพนักงานต ารวจผู้ปฏิบัติยังไม่มีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนหรือ

               แนวปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องนี้ดีพอ เช่นพนักงานสอบสวนยังไม่ค่อยทราบว่าจะต้องใช้เอกสารได้บ้างที่จ าเป็นใน
               การประกอบค าร้องขอ หรือกรณีการขอให้มีการจับกุมเป็นกรณีเร่งด่วนนั้นในประเทศที่มีสนธิสัญญาส่งผู้ร้าย

               ข้ามแดนกับประเทศไทย เช่น ประเทศกัมพชา เป็นต้น ส่วนใหญ่จะมีการระบุให้มีการร้องขอผ่านช่องทาง
                                                    ู
               ต ารวจสากล (Interpol) อกทางหนึ่งด้วย ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติโดยเฉพาะเจ้าพนักงานต ารวจส่วนใหญ่ยังไม่
                                      ี
                                                                    ื่
               ทราบเรื่องนี้ จึงท าให้ผู้กระท าผิดอาจหลบหนีเข้าไปในประเทศอนที่มีสนธิสัญญากับประเทศไทยได้ เนื่องจาก
               เจ้าหน้าที่ผู้ติดตามจับกุมการสอบสวนไม่ทราบว่ามีช่องทางในการด าเนินการในกรณีเร่งด่วนได้


                                                    ี
                           ๓) ปัญหาในทางปฏิบัติที่ส าคัญอกประการหนึ่งคือในการจัดท าค าร้องขอส่งผู้ร้ายข้ามแดนนั้น
               จะต้องจัดท าค าร้องเป็นภาษาองกฤษรวมทั้งต้องแปลเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น รายงานการสอบสวนหรือ
                                          ั
                            ้
                                           ั
                                                                                 ั
               หนังสือค าสั่งฟองผู้ต้องหาของอยการหมายจับของศาล เป็นต้น เป็นภาษาองกฤษทั้งหมดและต้องมีการ
               รับรองจากฝ่ายต ารวจอีกด้วย ซึ่งเรื่องนี้เป็นปัญหาของพนักงานสอบสวนเป็นอย่างมาก เนื่องจากการสอบสวน
                                        ั
               มีทักษะด้านการแปลภาษาองกฤษไม่เพยงพอ รวมทั้งหากมีการว่าจ้างแปลเอกสารจะต้องใช้งบประมาณ
                                                 ี
               ค่อนข้างมาก จึงมีแนวโน้มที่พนักงานสอบสวนไม่อยากที่จะด าเนินการในเรื่องการส่งผู้ร้ายข้ามแดน ซึ่งเป็น

               การเสียประโยชน์ในการอ านวยความยุติธรรมเป็นอย่างมาก

                            อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันยังไม่ปรากฏว่ามีการน ามาตรการทางกฎหมายและวิธีปฏิบัติต่าง ๆ ดังที่

               ได้ศึกษาวิเคราะห์นี้มาใช้อย่างจริงจังกับคดีที่อยู่ในอ านาจของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทาง

               การเมือง เป็นเหตุให้การติดตามจับกุมผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยที่ยังหลบหนีอยู่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
                                                     ิ
               เพอให้ได้ตัวมาด าเนินคดีและบังคับตามค าพพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทาง
                  ื่
               การเมืองนั้นยังไม่สัมฤทธิ์ผล


               ๓. บทสรุปและข้อเสนอแนะ


                             การที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยหลบหนีไปในระหว่างได้รับการปล่อยชั่วคราวของศาลฎีกาแผนก

               คดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง นอกจากจะส่งผลให้การบังคับตามค าพพากษาของศาล
                                                                                          ิ
   371   372   373   374   375   376   377   378   379   380   381