Page 372 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 372
359
ิ
หากพจารณาตามสัญญาปล่อยชั่วคราวผู้ประกันมีหน้าที่น าตัวผู้ที่ถูกปล่อยชั่วคราวมาศาล หากน าตัวมาได้
จะได้รับการลดเบี้ยปรับตามสัญญาประกัน แต่ถ้าน ามาไม่ได้ก็จะต้องรับผิดชอบช าระค่าปรับเต็มจ านวนต่อ
ศาล แต่ในเป้าหมายของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาไม่ต้องการได้ค่าปรับเช่นนั้น หากแต่ต้องการได้ตัวผู้
ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยเข้าสู่กระบวนพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดี ด้วยเหตุนี้ในกฎหมายข้างต้นจึงมีมาตรการ
ให้แรงจูงใจแก่ประชาชนที่ชี้ช่องหรือแจ้งเบาะแสแก่ทางราชการจนท าให้ทางราชการสามารถจับกุมผู้ถูก
กล่าวหาหรือจ าเลยที่หลบหนีได้ โดยผู้ที่แจ้งความน าจับมีสิทธิได้รับเงินสินบน ส่วนเจ้าหน้าที่ผู้จับมีสิทธิได้รับ
เงินรางวัลโดยจะต้องยื่นค าร้องขอต่อศาลที่ปล่อยชั่วคราว พร้อมทั้งพยานหลักฐานที่น่าเชื่อถือว่าตนมีสิทธิ
ได้รับเงินสินบนหรือเงินรางวัลดังกล่าวภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ส่งผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยต่อศาล ทั้งนี้
ั
เป็นไปตามหลักเกณฑ์และอตราตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมก าหนดโดยความเห็นชอบ
จากกระทรวงการคลังตามมาตรา ๗ และมาตรา ๘ เงินที่น ามาจ่ายเพอเป็นค่าตอบแทนค่าใช้จ่ายค่าพาหนะ
ื่
ิ
เงินสินบนและเงินรางวัลนั้น เป็นเงินที่ได้มาจากค่าปรับตามคาพพากษาคดีอาญาก่อนน าส่งคลังจึงเป็นเงินที่ได้
จากจ าเลยในคดีอาญา ไม่ได้จ่ายจากงบประมาณที่มาจากการเก็บภาษีของรัฐ ซึ่งถือเป็นมาตรการที่ดีประการ
หนึ่งที่จะน าเงินจากผู้กระท าความผิดมาจ่ายในกลไกที่ติดตามตัวเพื่อด าเนินคดี
นอกจากนี้ องค์ประกอบส าคัญที่จ าเป็นต้องมีในระบบปล่อยชั่วคราวคือการติดตามจับกุม
ที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ งานวิจัยและประสบการณ์ในต่างประเทศชี้ว่า ยิ่งจับผู้หลบหนีได้เร็วเท่าใด ก็ยิ่ง
ช่วยยืนยันความคิดหรือความเชื่อที่ว่า ถึงหนีไปก็จะถูกจับ จึงไม่รู้จะหนีไปท าไม อันเป็นเหตุผลส าคัญที่ท าให้ผู้
ถูกปล่อยชั่วคราวในหลายประเทศที่มีการจับกุมที่มีประสิทธิภาพ ไม่หลบหนีหรือผิดเงื่อนไขของศาล ใน
ต่างประเทศที่มีการจับกุมผู้หลบหนีหรือฝ่าฝืนเงื่อนไขของศาลได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพนั้น ข้อมูล
หมายจับของศาลและของเจ้าพนักงานต ารวจเชื่อมต่อกันทั่วประเทศกล่าวคือทันทีที่ศาลออกหมายจับข้อมูล
หมายจับของศาลจะไปปรากฏในฐานข้อมูลบุคคลตามหมายจับของเจ้าพนักงานต ารวจทั่วประเทศในทันที
และเมื่อเจ้าพนักงานต ารวจจับผู้ต้องสงสัยหรือผู้ต้องหารายใดมาได้เมื่อท าการตรวจสอบว่าบุคคลนั้นเป็น
ิ่
ี
ผู้ต้องหาตามหมายจับศาลหรือไม่ ก็สามารถทราบได้โดยเร็วเพมโอกาสในการจับกุมผู้หลบหนีของศาลขึ้นอก
ทางหนึ่ง ซึ่งเมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ส านักงานศาลยุติธรรมและส านักงานต ารวจแห่งชาติได้ทดลอง
ระบบเชื่อมฐานข้อมูลการออกหมายจับร่วมกันแล้ว ผลการทดลองเป็นไปด้วยดี และจะขยายแผนการ
เชื่อมโยงฐานข้อมูลทั้งภายในศาลเองกับหน่วยงานภายนอกของศาลต่อไปด้วย แต่ในปัจจุบันศาลฎีกาแผนก
คดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองยังไม่ได้เชื่อมโยงฐานข้อมูลหมายจับเข้ากับส านักงานศาลยุติธรรม
จึงเป็นอกหนึ่งวิธีปฏิบัติที่ส าคัญ ซึ่งหากไม่ใช้วิธีปฏิบัตินี้ก็จะมีผลกระทบต่อการสืบสวนจับกุมผู้ที่หลบหนี
ี
หมายจับของศาลด้วย
อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติเจ้าพนักงาน
ต ารวจศาล พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยมาตรา ๕ (๕) บัญญัติให้ศาลมีคาสั่งตั้งเจ้าพนักงานศาลเพอจัดการตามหมายจับ
ื่
ซึ่งเจ้าพนักงานต ารวจศาลจะมีอานาจจับ ค้น ควบคุม ออกหมายเรียก หมายอาญา สืบสวนติดตามผู้หลบหนี
จากเขตอานาจศาล มีความสามารถในการใช้อาวุธในระดับสูงในการจับกุมและอารักขาเช่นเดียวกับ