Page 367 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 367

354


                                                                ั

                           “เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจ” หมายความว่า พนักงานอยการ เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ พนักงานฝ่ายปกครอง

               หรือต ารวจ หรือเจ้าพนักงานอื่นผู้มีอานาจหน้าที่ปฏิบัติการเกี่ยวกับการส่งผู้ร้ายข้ามแดนในส่วนของตนตามที่
               ได้รับแจ้งจากผู้ประสานงานกลาง


                            มาตรา ๗ บัญญัติว่า “ความผิดที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนได้ต้องเป็นความผิดอาญาซึ่งกฎหมายของ

               ประเทศผู้ร้องขอและกฎหมายไทยก าหนดให้เป็นความผิดอาญาซึ่งมีโทษประหารชีวิตหรือมีโทษจ าคุกหรือ
               โทษจ ากัดเสรีภาพในรูปแบบอนตั้งแต่หนึ่งปีขึ้นไป ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นความผิดที่ได้ก าหนดไว้ในหมวดเดียวกัน
                                        ื่
               หรือเรียกชื่อความผิดเป็นอย่างเดียวกันของทั้งสองประเทศหรือไม่ก็ตาม การกระท าความผิดอาญาอนซึ่งมี
                                                                                                    ื่
               โทษจ าคุกหรือโทษจ ากัดเสรีภาพในรูปแบบอนน้อยกว่าหนึ่งปีอาจร้องขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดนได้ หากเป็น
                                                      ื่
                            ั
               ความผิดเกี่ยวพนกับความผิดที่ให้มีการส่งผู้ร้ายข้ามแดนตามค าร้องขอแล้ว ไม่ว่าจะร้องขอพร้อมค าร้องขอใน
               ครั้งแรกหรือภายหลัง”
                            พระราชบัญญัติเจ้าพนักงานต ารวจศาล พ.ศ.๒๕๖๒ มาตรา ๕ บัญญัติว่า “เจ้าพนักงานต ารวจศาล

               มีหน้าที่และอ านาจ ดังต่อไปนี้

                             (๑) รักษาความสงบเรียบร้อยและรักษาความปลอดภัยบุคคลและทรัพย์สินในบริเวณศาล
                             (๒) ป้องกันและปราบปรามการกระท าความผิดในบริเวณศาล

                             (๓) รักษาความปลอดภัยและคุ้มครองข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมตามกฎหมายว่าด้วย
               ระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พนักงานและลูกจ้างของศาลและส านักงานศาลยุติธรรม  ซึ่ง

               กระท าการตามหน้าที่ หรือเพราะเหตุที่จะกระท าหรือได้กระท าการตามหน้าที่ รวมทั้งอาคารสถานที่และ

               ทรัพย์สินของศาลและส านักงานศาลยุติธรรม
                             (๔) ปฏิบัติตามค าสั่งศาลในการแจ้งให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจจับผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่


               ได้รับการปล่อยชั่วคราวโดยศาลแล้วหนีหรือจะหลบหนี หรือถ้ามีเหตุจ าเป็นที่ไม่สามารถขอความช่วยเหลือ
               จากพนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจได้ทันท่วงที ก็ให้มีอานาจจับผู้ต้องหาหรือจ าเลยนั้นได้ และเมื่อจับได้

               แล้วให้น าผู้ถูกจับไปยังศาลโดยเร็ว

                             (๕) เมื่อศาลได้ออกหมายจับผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกหรือค าสั่งศาล ให้ศาลมีค าสั่งตั้ง
               เจ้าพนักงานต ารวจศาลเป็นผู้จัดการตามหมายจับ และหากศาลเห็นสมควร ศาลอาจให้พนักงานฝ่ายปกครอง

               หรือต ารวจเป็นผู้จัดการตามหมายจับด้วยโดยมีเจ้าพนักงานต ารวจศาลเป็นผู้สนับสนุนก็ได้”

                             มาตรา ๑๐ บัญญัติว่า “ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เจ้าพนักงานต ารวจศาลเป็น

               เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และให้มีหน้าที่และอานาจเช่นเดียวกับพนักงานฝ่ายปกครอง หรือ
               ต ารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา”
                                                                                          ั
                                                                                               ิ
                                                                          ิ
                             การที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยหลบหนีไปในระหว่างการพจารณาและไม่มาฟงค าพพากษของ
                                                                                        ั
               ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง มีตัวแปลหรือที่มาของปัญหาอนเกิดจากบุคคลผู้จับ
               และวิธีการจับกุม ซึ่งสามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้
   362   363   364   365   366   367   368   369   370   371   372