Page 364 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 364
351
เมื่อพิจารณาจากสถิติคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองในช่วง
ก่อนปี ๒๕๖๐ พบว่ามีตัวเลขการจับกุมผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยได้มีจ านวนสูงกว่าในช่วงหลังปี ๒๕๖๐ แสดง
ให้เห็นว่าหลังจากปี ๒๕๖๐ มีการจับกุมตามหมายจับของศาลลดน้อยลง สาเหตุหนึ่งน่าจะสืบเนื่องจากเมื่อ
3
้
วันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๖๐ มีกฎหมายใหม่ประกาศบังคับใช้ บัญญัติให้อายุความสะดุดหยุดลงเมื่อได้ยื่นฟอง
คดีต่อศาล และในกรณีผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยหลบหนีไปในระหว่างการพิจารณาคดีของศาล มิให้
นับระยะเวลาที่หลบหนีรวมเป็นส่วนหนึ่งของอายุความ โดยให้ศาลออกหมายจับจ าเลยและให้ผู้ที่มีหน้าที่
เกี่ยวข้องติดตามจับกุมจ าเลยที่หลบหนี หากไม่สามารถจับจ าเลยได้ภายใน ๓ เดือนนับแต่ออกหมายจับ
ิ
ให้ศาลมีอานาจพจารณาคดีได้โดยไม่ต้องกระท าต่อหน้าจ าเลยที่หลบหนีการประกาศใช้ กฎหมายฉบับ
ดังกล่าวอาจท าให้เจ้าพนักงานผู้มีอานาจจับกุมท าการติดตามจับกุมผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยมาส่งต่อศาล
น้อยลง เพราะอาจเห็นว่าคดีไม่มีกาหนดอายุความและศาลสามารถพิจารณาคดีและพิพากษาคดีได้โดยไม่ต้อง
กระท าต่อหน้าผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลย ซึ่งขัดวัตถุประสงค์ของกฎหมายในการด าเนินคดีที่แท้จริง คือการได้
ี
ตัวผู้กระท าผิดมาพจารณาโทษ เพอให้หลาบจ า ไม่กล้ากระท าความผิดอก และเป็นเยี่ยงอย่างในสังคมอนจะ
ิ
ั
ื่
เป็นการป้องปรามการทุจริตในสังคมได้ และผลของการไม่ได้ตัวมาด าเนินคดีท าให้ศาลต้องพจารณาพพากษา
ิ
ิ
คดีลับหลังจ าเลย นั้น สุมเสี่ยงที่จะขัดแย้งกับหลักความเสมอภาคในกฏหมายที่บุคคลทุกคนมีสิทธิในการได้รับ
ิ
การพจารณาคดีที่เป็นธรรมและเปิดเผย โดยเฉพาะในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทาง
4
การเมือง ซึ่งผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยเป็นข้าราชการระดับสูง นักการเมืองระดับท้องถิ่น และนักการเมือง
ระดับชาติ ซึ่งเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะ และการวินิจฉัยสั่งการใด ๆ จะมีกระทบ
ต่อทรัพยากรที่ส าคัญของประเทศ การไม่ได้ตัวผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยมาเพอพจารณาและบังคับตาม
ิ
ื่
ค าพพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง จึงนับเป็นปัญหาส าคัญที่จะมีผล
ิ
ท าให้รัฐไม่สามารถแก้ไขปัญหาการทุจริตคอรัปชั่นที่ก าลังลุกลามและบั่นทอนการพัฒนาประเทศในปัจจุบันได้
๒. บทวิเคราะห ์
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา มาตรา ๗๘ บัญญัติว่า “ พนักงานฝ่ายปกครองหรือ
ิ
ต ารวจจะจับผู้ใดโดยไม่มีหมายจับหรือค าสั่งของศาลนั้นไม่ได้ เว้นแต่... (๔) เป็นการจับผู้ต้องหาหรือ จ าเลยที่
หนีหรือจะหลบหนีในระหว่างถูกปล่อยชั่วคราวตาม
3 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง
พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๕, ๒๘
4 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธสักรราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๗
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ข้อ ๗
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ข้อ ๑๔ วรรคหนึ่ง