Page 371 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 371
358
ิ
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการใช้ดุลพนิจในการปล่อยชั่วคราว เมื่อศาลอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว
ศาลจะก าหนดเงื่อนไขหรือให้เหตุผลว่าหากให้ปล่อยชั่วคราวไว้ เช่น จะหลบหนี จะยุ่งกับพยานหลักฐานหรือ
ื่
ี
ก่อให้เกิดเหตุร้ายประการอนหรือไม่ และเชื่อถือผู้ประกันหรือหลักประกันเพยงใด ทั้งนี้ตามมาตรา ๑๐๘/๑
แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และในการอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวนั้น ศาลมีอ านาจออกคาสั่ง
เพอให้ผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยปฏิบัติได้ด้วย เช่น ต้องไม่ออกไปนอกราชอาณาจักรหากไม่ได้รับอนุญาต
ื่
ิ
ิ
จากศาล หากฝ่าฝืนศาลจะเพกถอนประกัน และในปัจจุบันมีมาตรการที่ใช้เครื่องอเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว
(EM) มาใช้แทนการวางเงินประกันของผู้ต้องหาหรือจ าเลยในการขอปล่อยชั่วคราวซึ่งติดตั้งระบบน าทาง
ื่
(GPS) เพอป้องกันการหลบหนีด้วย ซึ่งมาตรการเหล่านี้เป็นการก าหนดเงื่อนไขเพอป้องกันการหลบหนีและ
ื่
ั
การก่อเหตุร้ายอนเป็นผลจากการปล่อยตัวชั่วคราว ในกรณีที่ผู้ได้รับการปล่อยชั่วคราวนั้นประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๗๘ (๔) ก าหนดให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจมีอ านาจจับกุมผู้กระท าผิด
ได้โดยไม่ต้องมีหมายจับ หรือผู้ประกันตัวผู้ต้องหาหรือจ าเลยนั้นสามารถติดตามจับกุมผู้หลบหนีได้ หรือแจ้ง
ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจที่ใกล้เคียงกับที่พบให้ท าการจับกุมแล้วน าส่งศาลได้ตามมาตรา ๑๑๗ แต่
การใช้มาตรการในกฎหมายดังกล่าวยังมีปัญหาในทางปฏิบัติ คือ หากผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยหลบหนี
ผู้ประกันหรือเจ้าพนักงานต ารวจไม่อาจรู้ได้ว่ามีการหลบหนีเมื่อใด ที่ไหน และอย่างไร ด้วยเหตุดังกล่าวจึงมี
การเพิ่มมาตรการก ากับและติดตามจับกุม ผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยที่หลบหนีประกันของศาลอันเป็นมาตรการ
ในการน าตัวผู้นั้นมาพจารณาและพพากษาคดีต่อไป จึงมีกฎหมายที่ก าหนดให้มีผู้ก ากับดูแลผู้ถูกปล่อย
ิ
ิ
ชั่วคราวขึ้นโดยศาลเป็นผู้แต่งตั้ง บุคคลนี้จะเป็นผู้สอดส่อง ดูแล รับรายงานตัว หรือให้ค าปรึกษาผู้ถูกปล่อย
ื่
ชั่วคราว เพื่อป้องกันการหลบหนีหรือเพอป้องกันการก่อภยันตรายหรือป้องกันความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการ
ปล่อยชั่วคราวได้ กฎหมายฉบับนี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติมาตรการก ากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการ
ปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐” ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๐ และ
มีผลใช้บังคับเมื่อผลก าหนด ๓๐ วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรการที่ก าหนดไว้ใน
กฎหมายฉบับนี้เป็นมาตรการที่เสริมเข้ามาอกมาตรการหนึ่งเพออุดช่องว่างในระหว่างที่ผู้ต้องหาหรือจ าเลยได้
ี
ื่
ประกันตัวไปแล้ว แม้ว่าจะมีค าสั่งห้ามออกนอกประเทศหรือห้ามไปยุ่งกับพยานหลักฐานหรือก่อเหตุร้าย
อย่างไรก็ดี มาตรการดังกล่าวนี้ยังขาดกลไกที่บังคับให้ผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยมารายงานตัวหรือมีผู้ที่เข้ามา
สอดส่องว่ามีพฤติการณ์ต้องห้ามตามที่ศาลก าหนดในการปล่อยชั่วคราว หรือไม่การก าหนดให้มีผู้ก ากับดูแล
จึงเป็นการไม่เติมเต็มในการป้องกันการหลบหนีหรือจะก่อเหตุร้ายได้ ทั้งนี้เพราะในบางกรณีผู้ประกันไม่ได้มี
ความใกล้ชิดกับผู้ที่ถูกปล่อยชั่วคราวไป กว่าจะทราบว่าก่อเหตุร้ายหรือหลบหนีก็ไม่ทันเวลาเสียแล้ว แต่ผู้ที่
ศาลจะแต่งตั้งให้เป็นผู้สอดส่องดูแลนั้นไม่อาจตั้งบุคคลที่เป็นผู้ประกัน เพราะมีหน้าที่ตามสัญญาปล่อย
ชั่วคราวอยู่แล้ว ผู้ก ากับดูแลมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนค่าใช้จ่ายค่าพาหนะตามอตราที่ระเบียบ คณะกรรมการ
ั
บริหารศาลยุติธรรมก าหนดโดยความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง ตามมาตรา ๕ วรรคสอง หากได้กระท า
ตามหน้าที่ แต่ถ้าละเลยต่อหน้าที่ จนผู้ได้รับการปล่อยชั่วคราวหลบหนีหรือก่อเหตุร้ายก็จะไม่ได้รับ
ค่าตอบแทนนี้ ในด้านการติดตามจับกุมผู้ที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวที่หลบหนีประกันก็เช่นเดียวกัน