Page 97 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 97

หน่วยงานศาลทหารมีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์  เพื่อให้บริการข้อมูลคดี วันนัดพิจารณา ผลการส่งหมาย

               ต่อพ่วงสำหรับใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมี  ผ่านอินเทอร์เน็ตตลอด ๒๔ ชั่วโมง เพิ่มความสะดวก
               ประสิทธิภาพ มีอุปกรณ์สแกนเอกสาร (Scanner)  และลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางของคู่ความในคดีหรือ

               เพื่อรองรับการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ  ประชาชน ช่วยอำนวยความสะดวกในการเรียกดูข้อมูล
               และการใช้ดิจิทัลในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี  คดีที่คู่ความเกี่ยวข้องในคดีได้ทุกที่ทุกเวลา

               ของศาล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริการประชาชน          โลกที่กําลังเปลี่ยนไปตามเทคโนโลยีดิจิทัล

               จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์จัดเก็บ  ทําให้ศาลทหารต้องเร่งปรับตัวโดยการนํานวัตกรรม

               ข้อมูลเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์และ  และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อ
               อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลเพื่อให้สามารถรองรับการใช้งาน  ยกระดับองค์การและพัฒนาการทํางานให้รวดเร็ว

               ระบบสารสนเทศของศาลทหารได้อย่างเพียงพอ  และมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูป

               มีระบบการรักษาความปลอดภัยในการสื่อสารผ่านระบบ  การทํางาน ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ เพิ่มการนํา

               เครือข่ายคอมพิวเตอร์ของศาลทหารกรุงเทพและ  เทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการคดีและเพื่อให้
               ศาลทหารทั่วประเทศ                                การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมรวดเร็วขึ้น ง่ายขึ้นและ

                       ๕. การพัฒนานวัตกรรมดิจิทัลเพื่อเพิ่ม  เสียค่าใช้จ่ายน้อยลง ดังที่กล่าวมาแล้ว เมื่อศาลทหาร
               ประสิทธิภาพการอำนวยความยุติธรรม ทั้งนี้ตามแผน  มีการปรับกระบวนการทํางานให้รวดเร็วขึ้น โดยมี

               พัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมได้ให้คำนิยาม  การนําเทคโนโลยีต่าง ๆ เข้ามาใช้ในการปฏิบัติงาน
               เกี่ยวกับ นวัตกรรมดิจิทัลหรือ Digital Innovation  เพื่อให้บริการประชาชนได้อย่างทั่วถึง สะดวก รวดเร็ว

               หมายถึง ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ ที่เกิดจากการ  ข้าราชการซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานจึงต้องยอมรับการ
               ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่ตอบสนองความต้องการ  เปลี่ยนแปลงพัฒนาขีดความสามารถของตนเพื่อให้

               และพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ปรับเปลี่ยนไปตามบริบท  เท่าทันการเปลี่ยนแปลง มีการปรับตัวปรับกระบวนทัศน์
               ของเทคโนโลยี ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว   ในการทํางานให้เหมาะสมเท่าทันตามที่องค์การมี

               ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ธุรกิจใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน  การเปลี่ยนแปลง โดยต้องก้าวออกจากกรอบความคิด
               บนพื้นฐานของการหลอมรวมเทคโนโลยี Digital   และวิธีการทํางานแบบเดิม พร้อมท้าทายสิ่งใหม่และ

               Supply Chain ศาลทหารต้องให้ความสำคัญต่อ  แก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล ต้องสามารถประสาน
               การพัฒนานวัตกรรมเพื่อใช้ในการบริหารคดีและ  การทํางานร่วมกัน (Collaboration) เพื่อไปสู่เป้าหมาย

               การบริการของศาลให้มีความสะดวก รวดเร็ว และ  เดียวกันทั้งภายในหน่วยงานเดียวกัน ระหว่าง
               เสียค่าใช้จ่ายน้อยลงประหยัดค่าใช้จ่าย การลดปริมาณ  หน่วยงานของรัฐ ระหว่างหน่วยงานของรัฐกับเอกชน


               กระดาษ และพื้นที่ในการเก็บข้อมูลเอกสาร อาทิเช่น  และระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน เพื่อสร้างคุณค่า
               ระบบบันทึกคำพยานด้วยภาพและเสียงในห้อง  ร่วมกัน ต้องมีปัญญาสร้างสรรค์ และใช้ประโยชน์

               พิจารณาคดี การพัฒนาระบบแปลงคำพูดเป็นตัวอักษร  จากเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสร้างความประทับใจและ
               ต้นแบบ (Speech to Text) มาใช้ในการบันทึกคำพยาน  การมีส่วนร่วมจากประชาชน โดยยึดมั่นในความ

               เพื่อถอดเทปทุกคำ การพัฒนาระบบการยื่นและ  ซื่อสัตย์ ซื่อตรง โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติ และมีคุณธรรม

               ส่งคำคู่ความและเอกสารโดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์  ตามบทบาทหน้าที่และเจตนารมณ์แห่งรัฐธรรมนูญ
               (e-Filing) การพัฒนาระบบบริการข้อมูลคดีศาลทหาร   แห่งราชอาณาจักรไทย
               (Case Information Online Service : CIOS)




                                                                           ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔  95
                                                                           คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102