Page 101 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 101
เมื่อพิจารณาแนวคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจ (คำวินิจฉัยที่ ๔๘/๒๕๖๔) กรณีผู้ฟ้องคดียื่นฟ้อง
หน้าที่ระหว่างศาลที่ผ่านมากรณีที่มีการฟ้องขอให้ สำนักงานที่ดินจังหวัดสุพรรณบุรี สาขาสองพี่น้อง
เพิกถอนคำสั่งทางปกครองหรือให้หน่วยงานหรือ ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ อ้างว่า อำเภอสองพี่น้อง ผู้ถูกฟ้องคดี
เจ้าหน้าที่รัฐรับผิดในการกระทำละเมิดหรือการฟ้องคดี ที่ ๓ ยื่นคำร้องขอออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง
เพื่อตรวจสอบการกระทำของฝ่ายปกครองในคดี แปลง “หนองลาดตะเพียน” โดยมีการนำชี้และรังวัด
ลักษณะนี้ สิ่งที่คณะกรรมการฯ จะหยิบยกขึ้นมา รุกล้ำที่ดินมีโฉนดของบิดาผู้ฟ้องคดี เป็นคดีเกี่ยวกับ
พิจารณาก็คือ ประเด็นพิพาทแห่งคดี กล่าวคือ หากเป็น สิทธิในที่ดิน (คำวินิจฉัยที่ ๑๑๕ /๒๕๖๓) ส่วนคดี
คดีมีประเด็นที่ต้องวินิจฉัยเสียก่อนว่า ที่ดินพิพาท ที่คณะกรรมการฯ เห็นว่าไม่มีประเด็นโต้แย้งหรือมีข้อยุติ
เป็นกรรมสิทธิ์ของใคร แล้วจึงจะพิจารณาคดีต่อไป ในเรื่องสิทธิในที่ดินแล้วและโจทก์มีความประสงค์
โดยไม่จำต้องตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของ ที่จะฟ้องคดีเพื่อตรวจสอบการกระทำของฝ่ายปกครอง
การกระทำทางปกครองหรือวินิจฉัยว่าการกระทำ กรณีดังกล่าวจึงเป็นคดีที่อยู่ในอำนาจของศาลปกครอง
ดังกล่าวเป็นละเมิดหรือไม่ คณะกรรมการฯ จะชี้ขาดว่า เช่น คดีฟ้องขอให้เพิกถอนโฉนดที่ดินโดยอาศัย
เป็นคดีเกี่ยวกับสิทธิในที่ดิน เช่น กรณีที่ผู้ฟ้องคดี หลักฐาน น.ค. ๓ ที่มิชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งคดีมีประเด็น
ยื่นฟ้องว่าองค์การบริหารส่วนตำบลตะคุ นำรังวัดที่ดิน ต้องวินิจฉัยเพียงว่า ผู้ฟ้องคดีหรือนาง ม. เป็นผู้มี
ตามคำขอรังวัดที่ดินเพื่อออกหนังสือสำคัญสำหรับ คุณสมบัติที่จะได้รับสิทธิในการเข้าทำประโยชน์
ที่หลวง (น.ส.ล.) ในที่ดินสาธารณประโยชน์แปลง ในที่ดินแปลงพิพาท อันเป็นปัญหาเกี่ยวกับคุณสมบัติ
ทำเลเลี้ยงสัตว์ “โคกสูง” ทับที่ดิน น.ส. ๓ ก. ของ ของบุคคลที่จะได้รับคัดเลือกให้เข้าเป็นสมาชิกนิคม
ผู้ฟ้องคดีทั้งสาม เป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับสิทธิในที่ดิน สร้างตนเองแทนผู้ตาย มิใช่คดีพิพาทเกี่ยวกับสิทธิ
ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔ 99
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล