Page 92 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 92
การพัฒนาศาลทหาร
ในยุคดิจิทัล
โดย พลโท สุรเชษฐ์ เจริญปรุ
หัวหน้าสำนักตุลาการทหารและหัวหน้าตุลาการพระธรรมนูญ
ศาลทหารสูงสุด กรมพระธรรมนูญ
กรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
ศาลทหารเป็นหนึ่งในศาลตามรัฐธรรมนูญ ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ที่ให้ส่งเสริม
๑
แห่งราชอาณาจักรไทย จึงจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนา และพัฒนาการอำนวยความยุติธรรมในกระบวนการ
ให้สอดคล้องกับยุคโลกาภิวัตน์ดิจิทัล (Digital ศาลทหารและระบบกฎหมายทหารโดยยึดมั่น
Globalization) และการปฏิรูปตามที่กําหนดในกฎหมาย ในหลักนิติธรรม และปรับปรุงและพัฒนากฎหมาย
ว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดําเนินการปฏิรูปประเทศ ๒ ให้ทันสมัย คำนึงถึงความมั่นคงของประเทศในภาพรวม
๓
แผนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) และเป็นไปตามมาตรฐานสากล ดังนั้น ศาลทหาร
ในยุทธศาสตร์ที่ ๖ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุล จึงให้ความสำคัญในการนำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้
และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ที่ให้ ในศาลทหารเพื่อให้เกิดการเข้าถึงความยุติธรรม
กระบวนการยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ อย่างเป็นธรรมและโดยกำหนดแผนการดำเนินการ
เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และการอำนวยความยุติธรรม ในเรื่องดังกล่าวอย่างเต็มรูปแบบ ได้แก่การนำ
ตามหลักนิติธรรม ตลอดจนการดำเนินการตามนโยบาย เทคโนโลยีและการสื่อสารมาประยุกต์ใช้เพื่อสนับสนุน
๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมวด ๑๐ ศาล ส่วนที่ ๔ ศาลทหาร มาตรา ๑๙๙ บัญญัติว่า “ศาลทหาร
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทำความผิดเป็นบุคคลซึ่งอยู่ในอำนาจศาลทหารและคดีอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ”
๒ พระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๖ เมษายน
๒๕๖๑)
๓ พระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๑)
90 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล