Page 88 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 88
ส่วนน้อยที่มีความเห็นไม่ตรงกับแนวคำวินิจฉัยที่ออกไป
แต่คำวินิจฉัยดังกล่าวก็เป็นความเห็นทางวิชาการ
ที่จะต้องได้รับการพัฒนาและถกเถียงทางวิชาการต่อไป
ในอนาคต อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนก็เห็นว่ามีคำวินิจฉัย
จำนวนมากที่วางหลักเกณฑ์ในการแบ่งเขตอำนาจศาล
ระหว่างศาลปกครองและศาลยุติธรรมได้อย่างดี
ตรงตามแนวคิดและเจตนารมณ์ของการจัดตั้ง
ศาลปกครอง เช่น
คำวินิจฉัยเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครอง
ฟ้องข้าราชการหรือทายาทหรือประชาชนที่ได้รับ
เงินไปเกินสิทธิหรือโดยไม่มีสิทธิ ไม่ว่าจะเป็นเงิน
ช.ค.บ. เงินบำเหน็จบำนาญ เงินค่าเช่าบ้าน
เงินค่ารักษาพยาบาล หรือเงินอื่นที่ได้รับไปจากรัฐ
ที่คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
ได้วินิจฉัยชี้ขาดว่าไม่ใช่คดีพิพาทเกี่ยวกับความรับผิด
อย่างอื่นของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่
ของรัฐที่อยู่ในอำนาจศาลปกครอง ซึ่งผู้เขียนเห็นว่า
เป็นคำวินิจฉัยที่เป็นไปตามหลักกฎหมายปกครอง
เพราะหากพิจารณาเขตอำนาจศาลปกครองตาม
มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
แล้ว จะเห็นได้ว่า ส่วนใหญ่คดีที่ฟ้องต่อศาลปกครอง หรือความรับผิดอย่างอื่นของหน่วยงานทางปกครอง
จะต้องเป็นเรื่องที่เอกชนฟ้องหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่จะอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษา
เว้นแต่จะเป็นคดีที่มีกฎหมายกำหนดให้หน่วยงาน ของศาลปกครอง ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓)
ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐฟ้องคดีต่อ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา
ศาลปกครองเพื่อบังคับให้บุคคลต้องกระทำการ คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ต้องเป็นคดีที่หน่วยงาน
หรือละเว้นกระทำอย่างหนึ่งอย่างใด ตามมาตรา ๙ ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ถูกฟ้องให้รับผิด
วรรคหนึ่ง (๕) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง เยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้ฟ้องคดีโดยการชดใช้เงิน
และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ หรือ ส่งมอบทรัพย์สิน กระทำการหรืองดเว้นกระทำการ
เป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับเรื่องที่มีกฎหมายกำหนดให้อยู่ใน เป็นผู้ใช้อำนาจตามกฎหมายออกกฎคำสั่งทางปกครอง
เขตอำนาจศาลปกครอง ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๖) หรือคำสั่งอื่น หรือกระทำการอื่นใด หรือละเลย
แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน หรือเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับ ต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติ
สัญญา แต่ในกรณีนี้เป็นเรื่องที่หน่วยงานทางปกครอง หรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร โดยกฎ
ฟ้องข้าราชการของตนเองหรือเอกชนเพื่อเรียกเงินคืน คำสั่งทางปกครองหรือคำสั่งอื่น หรือการกระทำอื่น
และจะเห็นได้ว่า คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทำละเมิด หรือการละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดให้
86 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล