Page 85 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 85
ด้วยแนวคิดของระบบกฎหมายทั้งสองระบบ
แตกต่างกัน ดังนั้น นอกจากประเทศต่าง ๆ แต่ละประเทศ
จะใช้ระบบกฎหมายที่แตกต่างกันแล้ว แต่ละประเทศ
ยังมีระบบศาลหรือองค์กรวินิจฉัยชี้ขาดคดีที่แตกต่าง
กันด้วย ซึ่งในส่วนที่เกี่ยวกับการวินิจฉัยคดีปกครองนั้น
ประเทศต่าง ๆ ก็มีการจัดองค์กรวินิจฉัยคดีปกครอง
ที่แตกต่างกัน ซึ่งพอจะแบ่งได้เป็น ๓ ระบบใหญ่ ๆ
ดังนี้ ๓
(๑) ระบบที่ให้ศาลยุติธรรมเป็นผู้พิจารณา
พิพากษาคดีทุกประเภทรวมทั้งคดีปกครองด้วย
ซึ่งเรียกว่า ระบบศาลเดี่ยว ได้แก่ ประเทศที่ใช้ระบบ
คอมมอนลอว์ทุกประเทศใช้ระบบศาลเดี่ยวนี้ตาม
ระหว่างเอกชนกับเอกชนซึ่งเอกชนดูแลประโยชน์ ความเชื่อที่ว่า บุคคลทุกคนอยู่ภายใต้กฎหมายเดียวกัน
ส่วนตัวของตน ก็ควรใช้ความสมัครใจ ความยินยอม และขึ้นศาลเดียวกัน ดังนั้น ผู้พิพากษาจึงพิจารณา
กฎหมายที่ใช้บังคับกับนิติสัมพันธ์ระหว่างเอกชน พิพากษาคดีได้ทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นคดีแพ่ง
กับเอกชน เป็น “Jus Privatum” หรือกฎหมายเอกชน คดีอาญา หรือคดีปกครอง
แต่ในกรณีที่เป็นนิติสัมพันธ์ระหว่างรัฐและองคาพยพ (๒) ระบบที่ให้มีศาลปกครองแยกต่างหาก
ของรัฐกับเอกชนนั้น โดยที่รัฐมีภารกิจในการดูแลรักษา จากศาลยุติธรรม ได้แก่ ประเทศที่ใช้ระบบซีวิลลอว์
“ประโยชน์สาธารณะ” (public nterest) รัฐจึงไม่สามารถ บางประเทศ เช่น สเปน สวีเดน ฟินแลนด์
i
ใช้กฎหมายเอกชนแต่เพียงอย่างเดียวได้ ในกรณี (๓) ระบบที่ให้องค์กรที่ปรึกษากฎหมายของ
ที่เอกชนไม่ยินยอม รัฐก็มีความจำเป็นต้องใช้เอกสิทธิ์ รัฐบาลทำหน้าที่เป็นองค์กรวินิจฉัยคดีปกครองด้วย
มหาชนบังคับกับเอกชน รัฐจึงจำเป็นต้องใช้ “Jus ได้แก่ ประเทศที่ใช้ระบบซีวิลลอว์ บางประเทศที่มี
Publicum” หรือกฎหมายมหาชน เพื่อเป็นเครื่องมือ จำนวนผู้พิพากษาน้อย มีปริมาณคดีไม่มากนัก
ทางกฎหมายในการดำเนินการเพื่อประโยชน์สาธารณะ และมีงบประมาณจำกัด ก็ใช้ “ระบบศาลเดี่ยว” แต่การ
ดังนั้น แนวความคิดของ “กฎหมายโรมัน” จึงเห็นว่า พิจารณาพิพากษาคดีปกครองให้เป็นไปตามกฎหมาย
จะต้องแบ่งสาขากฎหมายออกเป็นกฎหมายเอกชน ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง เช่น ประเทศฝรั่งเศส
และกฎหมายมหาชน โดยกฎหมายทั้งสองสาขานั้น ที่เป็นต้นแบบของระบบนี้ บางประเทศในทวีปแอฟริกา
ย่อมมีหลักกฎหมายและนิติวิธีที่แตกต่างกันด้วย เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม อิตาลี กรีซ ตุรกี อียิปต์
เหตุผลดังกล่าวข้างต้น โคลอมเบีย และประเทศไทยในระยะแรกที่ยังไม่มี
การจัดตั้งศาลปกครอง
๓ โปรดดูรายละเอียดใน ชาญชัย แสวงศักดิ์, คำอธิบายกฎหมายจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง, พิมพ์ครั้งที่ ๑๑,
สำนักพิมพ์วิญญูชน, พ.ศ. ๒๕๖๒.
ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔ 83
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล