Page 81 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 81
กว่า ๒๐ ปีที่ผ่านมา นับแต่คณะกรรมการ ประวิงคดี ซึ่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาด
วินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลได้มีคำวินิจฉัย อำนาจหน้าที่ระหว่างศาล (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔
ชี้ขาดคดีแรกในปี ๒๕๔๔ จนถึงปัจจุบัน การดำเนินการ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์
ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจ ๒๕๖๔ นอกจากนี้ ในช่วง ๕ - ๖ ปีที่ผ่านมา คณะกรรมการ
หน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ ถือเป็นกระบวนการ วินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลได้ให้ความสำคัญ
สำคัญที่ชี้ขาดปัญหาเรื่องเขตอำนาจศาลให้ยุติ รวมถึง ในการวินิจฉัยชี้ขาดคำร้องแล้วเสร็จไปโดยรวดเร็ว
การแก้ปัญหากรณีคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ถึงที่สุด โดยวินิจฉัยชี้ขาดไม่เกิน ๑ เดือน เมื่อนับรวมระยะเวลา
ระหว่างศาลขัดแย้งกัน เพื่อให้คู่ความสามารถปฏิบัติ ตั้งแต่วันที่คณะกรรมการมีคำสั่งรับเรื่องจนถึงวันที่ส่ง
ตามคำพิพากษาที่ถึงที่สุดระหว่างศาลขัดแย้งกันนั้นได้ คำวินิจฉัยหรือคำสั่งไปอ่านยังศาลชั้นต้นรวมแล้วไม่เกิน
โดยคณะกรรมการได้พัฒนากระบวนการวินิจฉัยชี้ขาด ๔ เดือน และไม่มีคดีค้างข้ามปี ทั้งที่ในช่วงตั้งแต่
รวมถึงหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นหลักให้แก่ ปี ๒๕๕๕ ถึงปี ๒๕๖๓ มีปริมาณคดีที่เข้าสู่การพิจารณา
ประชาชน นักกฎหมาย หรือผู้พิพากษา ตุลาการ ของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดจำนวนมาก ทั้งนี้
ที่เกี่ยวข้อง ใช้เป็นแนวทางในการโต้แย้ง และการทำ ก็เพื่อไม่ให้การโต้แย้งเขตอำนาจศาลเป็นอุปสรรค
ความเห็นระหว่างศาล อันเป็นการลดปริมาณคดี ที่ทำให้กระบวนพิจารณาพิพากษาคดีของศาลชั้นต้น
ที่มาสู่คณะกรรมการได้เป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ ต้องล่าช้า
ยังมีการเสนอแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัย นอกเหนือจากการเร่งรัดพิจารณาคำร้องที่ยื่น
ชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ ในส่วน ต่อคณะกรรมการแล้ว คณะกรรมการยังวางหลักกฎหมาย
ที่เกี่ยวกับระยะเวลาการยื่นคำร้องโต้แย้งเขตอำนาจ ที่ให้คู่ความหรือผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงจาก
ต่อศาลปกครองเพื่อให้การวินิจฉัยเรื่องเขตอำนาจศาล คำพิพากษาหรือคำสั่งที่ถึงที่สุดระหว่างศาลขัดแย้งกัน
เสร็จสิ้นไปก่อนที่ศาลปกครองจะได้เริ่มการแสวงหา ในคดีที่มีข้อเท็จจริงเป็นเรื่องเดียวกัน ได้เข้าถึง
ข้อเท็จจริงในคดี จากเดิมที่ให้โอกาสผู้ถูกฟ้องคดี ความยุติธรรมได้โดยง่าย โดยในกรณีที่หากคณะกรรมการ
มีสิทธิโต้แย้งเขตอำนาจศาลได้ก่อนวันนั่งพิจารณาคดี เห็นว่าคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ถึงที่สุดระหว่างศาลนั้น
ครั้งแรก ซึ่งเป็นเวลาที่ศาลปกครองแสวงหาข้อเท็จจริง ขัดแย้งกันจนเป็นเหตุให้คู่ความไม่อาจปฏิบัติตาม
ครบทุกขั้นตอนและพร้อมที่จะมีคำพิพากษาแล้ว คำพิพากษาหรือคำสั่งที่ถึงที่สุดของทั้งสองศาลนั้นได้
รวมถึงแก้ไขในส่วนที่ให้อำนาจศาลที่รับฟ้องในการ แม้ผู้ร้องซึ่งเป็นคู่ความหรือผู้ที่ได้รับผลกระทบ
ใช้ดุลพินิจที่อาจรอการพิจารณาไว้ชั่วคราวในระหว่าง โดยตรงจากคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ถึงที่สุดระหว่าง
การดำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ หรือหากเห็นว่า ศาลขัดแย้งกันนั้นยื่นคำร้องเมื่อพ้นกำหนดระยะเวลา
กรณีตามคำร้องโต้แย้งเขตอำนาจศาลที่ยื่นต่อศาลนั้น ๖๐ วันนับแต่วันที่คำพิพากษาหรือคำสั่งที่ออกภายหลัง
มีแนวคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด ถึงที่สุดตามมาตรา ๑๔ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ
ออกมาเป็นจำนวนมากแล้ว ศาลที่รับฟ้องอาจใช้ ว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
ดุลพินิจไม่รอการพิจารณา แต่รอการพิพากษาไว้จนกว่า พ.ศ. ๒๕๔๒ แล้วก็ตาม แต่เนื่องจากคำร้องที่อ้างว่า
กระบวนการโต้แย้งเขตอำนาจจะเสร็จสิ้นก็ได้ คำพิพากษาหรือคำสั่งที่ถึงที่สุดนั้นขัดแย้งกัน จนเป็นเหตุ
อันเป็นการลดการใช้โอกาสของกระบวนการโต้แย้ง ให้คู่ความไม่อาจปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
เขตอำนาจศาลตามกฎหมายนี้เป็นช่องทางในการ ของทั้งสองศาลนั้นได้ หรือเป็นเหตุให้คู่ความไม่ได้รับ
ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔ 79
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล