Page 84 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 84
๑. ระบบกฎหมายที่สำคัญของต่างประเทศ แนวความคิดของนักกฎหมายคอมมอนลอว์นั้น
ที่มีอิทธิพลต่อระบบกฎหมายไทย ๑ มีความเชื่อว่าตาม “หลักนิติธรรม” (Rule of Law) นั้น
ระบบกฎหมาย (Legal System) ที่ใช้กันอยู่ บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมายเดียวกันคือ
ในประเทศซึ่งมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย คอมมอนลอว์ จึงปฏิเสธแนวความคิดของ “ระบบ
๒
แบบเสรีนิยม มีอยู่ ๒ ระบบ คือ “ระบบกฎหมาย ซีวิลลอว์” ที่มีการแบ่งสาขากฎหมายออกเป็นกฎหมาย
จารีตประเพณี” หรือ “ระบบคอมมอนลอว์” (Common เอกชนและกฎหมายมหาชน และมีความเชื่อต่อไปว่า
Law System) และ “ระบบประมวลกฎหมาย” หรือ ตาม “หลักนิติธรรม” นั้น บุคคลทุกคนต้องขึ้นศาล
“ระบบซีวิลลอว์” (Civil Law System) ซึ่งทั้งสองระบบ เดียวกันคือศาลยุติธรรม จึงปฏิเสธแนวความคิดของ
กฎหมายมีลักษณะสำคัญกับแนวความคิดเกี่ยวกับ “ระบบซีวิลลอว์” ที่มีระบบศาลได้หลายระบบศาล
การแบ่งประเภทของกฎหมายและระบบศาล ระบบประมวลกฎหมาย (Civil Law System)
ที่แตกต่างกัน ระบบกฎหมายนี้มีรากฐานมาจาก “กฎหมาย
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (Common Law โรมัน” (Roman) ซึ่งให้ความสำคัญต่อกฎหมาย
System) ลายลักษณ์อักษรเป็นอย่างมาก จักรพรรดิโรมัน
ระบบกฎหมายนี้มีต้นกำเนิดมาจากอังกฤษ บางพระองค์ทรงตราประมวลกฎหมาย (Codes) ขึ้น
“Common Law” คือ หลักกฎหมายที่ศาลหลวงของ ใช้บังคับเพื่อวางหลักกฎหมายที่มีลักษณะทั่วไปไว้
อังกฤษได้เคยอ้างไว้ในคำพิพากษาที่ตัดสินคดีแต่ละคดี เป็นการล่วงหน้าเพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบและ
ในอดีต ซึ่งต่อมาเมื่อคดีใดมีข้อเท็จจริงและประเด็น นำไปประกอบการพิจารณาว่าควรจะผูกนิติสัมพันธ์กัน
ข้อพิพาทอย่างเดียวกัน ศาลหลวงของอังกฤษก็จะ หรือไม่ อย่างไร ต่อเมื่อมีข้อพิพาทที่ตกลงกันไม่ได้
อ้างหลักกฎหมายในคดีแรกเป็นแนวทาง (precedent) ก็จะต้องนำข้อพิพาทไปฟ้องเป็นคดีต่อศาล ซึ่งศาล
เพื่อนำมาใช้ตัดสินคดีต่อ ๆ มา ศาลล่างก็จะเดินตาม ก็จะต้องพิจารณาพิพากษาคดีโดยยึดถือตามตัวบท
หลักกฎหมายที่ศาลสูงได้เคยวางไว้ จนทำให้หลักกฎหมาย กฎหมาย ศาลเป็นเพียงผู้บังคับใช้กฎหมาย คำพิพากษา
ที่ศาลสูงใช้ในการตัดสินคดีแรกกลายมาเป็นบ่อเกิด ของศาลจึงมิได้เป็นบ่อเกิดของกฎหมาย คงมีแต่
ของกฎหมาย จึงเรียกระบบกฎหมายนี้ว่า “judge - made ในกรณีที่ตัวบทกฎหมายมีช่องโหว่หรือไม่ชัดเจน
law” หรือ “case law” แม้ว่าต่อมาจะมีการตรา ศาลจึงจะมีโอกาสตีความกฎหมายอุดช่องโหว่ของ
พระราชบัญญัติออกมาบังคับใช้เป็นจำนวนมาก กฎหมายหรือเสริมตัวบทกฎหมายให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
แต่ศาลของอังกฤษก็ยังคงถือว่าหลักกฎหมายอยู่ใน แนวความคิดของ “กฎหมายโรมัน” นั้น เห็นว่า
คำพิพากษาของศาลสูงในคดีแรกส่วนพระราชบัญญัติ กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่ใช้บังคับกับนิติสัมพันธ์
ต่าง ๆ ถือว่าเป็นข้อยกเว้น
ระหว่างบุคคลกับบุคคล ในกรณีที่เป็นความสัมพันธ์
๑ โปรดดูรายละเอียดใน ชาญชัย แสวงศักดิ์, กฎหมายมหาชน : วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนในต่างประเทศและในประเทศไทย,
พิมพ์ครั้งที่ ๖, สำนักพิมพ์วิญญูชน, พ.ศ. ๒๕๖๒.
๒ ประเทศที่มีระบบการเมืองที่เขาเรียกว่า “ประชาธิปไตยประชาชน” (เช่น จีนและลาว) นั้นใช้กฎหมายที่เรียกว่า “ระบบกฎหมาย
สังคมนิยม-คอมมิวนิสต์”
82 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล