Page 82 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 82
การเยียวยาความเสียหายหรือไม่ได้
รับความเป็นธรรมนั้น เป็นปัญหา
เกี่ยวกับหน้าที่และอำนาจศาล
ที่สำคัญในระบบศาลคู่ คณะกรรมการ
ก็อาจใช้ดุลพินิจรับคำร้องดังกล่าวไว้
พิจารณาและมีคำวินิจฉัยกำหนด
แนวทางการปฏิบัติตามคำพิพากษา
หรือคำสั่งของศาลดังกล่าวได้ ทั้งนี้
เพราะเมื่อเป็นปัญหาอันเกิดจาก
โครงสร้างของศาลในระบบศาลคู่
เป็นเหตุให้ศาลทั้งสองพิจารณา
พิพากษาคดีในเรื่องเดียวกัน
จนกระทั่งมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง
แตกต่างกัน คณะกรรมการวินิจฉัย
ชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
ซึ่งเป็นคณะกรรมการที่รัฐธรรมนูญ
่
แหงราชอาณาจกรไทยมอบหมาย
ั
ให้เป็นผู้ทำหน้าที่แก้ไขปัญหา
ดังกล่าวย่อมไม่อาจปล่อยให้
คำพิพากษาหรือคำสั่งที่ถึงที่สุด
ระหว่างศาลทั้งสองขัดแย้งกันเอง
จนเป็นเหตุให้คู่ความไม่อาจปฏิบัติ
ตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นได้
หรือเป็นเหตุให้เกิดความไม่เป็นธรรม
แก่คู่ความได้ เช่น คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ หรือการวินิจฉัยกรณีคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ถึงที่สุด
ระหว่างศาลที่ ๖๒/๒๕๔๗, ๒๖/๒๕๔๘, ๑๙/๒๕๕๒, ระหว่างศาลขัดแย้งกัน ซึ่งเป็นปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่
๒/๒๕๕๗ และ ๖๕/๒๕๕๙ และอำนาจระหว่างศาลซึ่งกระทบต่อสิทธิของคู่ความ
จึงอาจกล่าวได้ว่า ความยุติธรรมที่เข้าถึงง่าย ก็ต้องยึดหลักความยุติธรรมที่เข้าถึงง่ายในฐานะที่เป็น
(Easy Access to Justice) นี้มีความสำคัญในทุกส่วน ส่วนหนึ่งของหลักนิติธรรมที่จับต้องได้ จึงได้กำหนด
ของกระบวนการยุติธรรม มิใช่เพียงเฉพาะส่วน เป็นนโยบายของประธานศาลฎีกา ปีงบประมาณ
การพิจารณาพิพากษาโดยศาลเท่านั้น แม้แต่การโต้แย้ง ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ เพื่อให้หน่วยงานของศาลยุติธรรม
เขตอำนาจระหว่างศาลยุติธรรมกับศาลปกครอง หรือ ทั้งหมดนำไปเป็นแนวทางในการอำนวยความยุติธรรม
เขตอำนาจศาลระหว่างศาลยุติธรรมกับศาลทหาร ให้แก่ประชาชนอย่างแท้จริง
80 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล