Page 79 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 79
รัฐต้องใช้กฎหมายในขณะนั้นบังคับแก่ประชาชน ความยุติธรรมที่เข้าถึงง่าย (Easy Access
รัฐไม่อาจนำกฎหมายมาใช้ย้อนหลังให้เป็นผลร้าย to Justice) ไม่ได้หมายความเพียงการให้ประชาชน
แก่บุคคลได้ เพราะความแน่นอนของกฎหมาย มีสิทธิฟ้องคดีได้โดยง่ายเท่านั้น แต่หมายความ
ที่บัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษรและประกาศ รวมถึงการมีกระบวนการพิจารณาคดีที่เป็นธรรม
ต่อสาธารณะ เป็นหลักกฎหมายที่สำคัญในการคุ้มครอง ชอบด้วยกฎหมาย (fair trial and due process)
สิทธิเสรีภาพของประชาชน บุคคลจะถูกลงโทษ และต้องกระทำโดยองค์กรตุลาการที่มีความเป็นอิสระ
ก็ต่อเมื่อกฎหมายในขณะนั้นบัญญัติเป็นความผิด (Independence Judiciary) เพื่อสร้างความเชื่อมั่น
และจะลงโทษเกินกว่าที่กฎหมายบัญญัติไม่ได้ ให้แก่คู่ความและสาธารณชนว่าการพิจารณาพิพากษาคดี
นอกจากนี้ ยังมีหลักความเสมอภาค (Equality) จะกระทำด้วยระบบตุลาการที่มีความเป็นกลาง
ที่รับรองสิทธิของบุคคลที่จะได้รับการปฏิบัติจากรัฐ คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่
ในการบังคับใช้กฎหมายอย่างเสมอภาคกัน ซึ่งนอกเหนือ ระหว่างศาล แม้มิได้ตั้งขึ้นเป็นองค์การวินิจฉัยชี้ขาด
จากองค์ประกอบสำคัญของหลักนิติธรรมทั้งสาม ข้อพิพาทในรูปแบบศาล ดังเช่นศาลคดีขัดกันของ
ประการดังกล่าวแล้ว หลักความยุติธรรมที่เข้าถึงง่าย สาธารณรัฐฝรั่งเศส (Tribunal des Conflits) ซึ่งเป็น
(Easy Access to Justice) ยังเป็นหลักการสำคัญ ต้นแบบของกระบวนการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่
ของหลักนิติธรรมที่เป็นจริงได้ในทางปฏิบัติที่จะทำให้ ระหว่างศาลของประเทศไทย แต่ก็เป็นคณะกรรมการ
หลัก Legality, Legal Certainty และ Equality สัมฤทธิผล ที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๙๒
เพราะสิทธิในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม จัดตั้งขึ้นโดยบัญญัติให้มีหน้าที่และอำนาจในการ
เป็นการให้สิทธิแก่ประชาชนในการตรวจสอบการใช้ วินิจฉัยชี้ขาดปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และอํานาจระหว่าง
อำนาจรัฐว่ากระทำโดยชอบด้วยหลักการของกฎหมาย ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง หรือศาลทหาร ซึ่งเป็น
ทั้ง ๓ ประการนั้นหรือไม่ในกรณีที่เป็นคดีปกครอง โครงสร้างของศาลในระบบศาลคู่ โดยคณะกรรมการ
รวมถึงการเยียวยาความเสียหายจากกรณีที่สิทธิเสรีภาพ ประกอบด้วยประธานศาลฎีกาเป็นประธาน ประธาน
ของตนได้รับการละเมิดจากการกระทำของบุคคล ศาลปกครองสูงสุด หัวหน้าสํานักตุลาการทหาร และ
เอกชนด้วยกันในกรณีที่เป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญา ผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีกไม่เกินสี่คนตามที่กฎหมายบัญญัติ
ซึ่งสิทธิในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมเป็นสิทธิ เป็นกรรมการ ซึ่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ๓ คน นั้น
ขั้นพื้นฐานของปักเจกบุคคลที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ ล้วนเป็นผู้ที่ได้รับเลือกมาจากที่ประชุมใหญ่ของ
รับรอง เพราะหากปัจเจกบุคคลไม่อาจตรวจสอบ ศาลฎีกา ศาลปกครองสูงสุด และศาลทหารตามลำดับ
การใช้อำนาจรัฐว่าเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย ส่วนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอีกท่านหนึ่ง เป็นผู้ที่มี
หรือไม่อาจใช้สิทธิของตนเยียวยาความเสียหาย คุณสมบัติตามที่พระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัย
จากการกระทำละเมิดสิทธิของตนได กไม่อาจกล่าวได้ว่า ชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนด
็
้
หลักนิติธรรมนั้นมีอยู่จริง ดังนั้น ในความเป็นจริง และได้รับเลือกโดยกรรมการโดยตำแหน่งและกรรมการ
หลักความยุติธรรมที่เข้าถึงง่าย จึงเป็นองค์ประกอบ ผู้ทรงคุณวุฒิดังกล่าวมา ดังนั้น แม้คณะกรรมการ
ที่สำคัญที่สุดที่แสดงให้เห็นว่า รัฐนั้นปกครอง วินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลจะไม่ใช่ศาล
โดยหลักนิติธรรม แต่ก็มีองค์ประกอบที่มาจากผู้พิพากษาหรือตุลาการ
ในศาล และบุคคลที่ได้รับเลือกจากกรรมการที่มาจากศาล
ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔ 77
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล