Page 76 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 76

การกระทำละเมิด ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓)  และให้ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ รับผิดตามสัญญาค้ำประกัน

            แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา  จึงต้องพิจารณาว่าสัญญาการลาศึกษาหรือไปศึกษา
            คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ แต่เป็นคดีละเมิดที่อยู่ในอำนาจ  นอกเวลาพิพาท เป็นสัญญาทางแพ่งหรือสัญญา

            พิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรม แต่เนื่องจากปรากฏ  ทางปกครอง เห็นว่า พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง
            ข้อเท็จจริงตามบันทึกความเห็นของศาลปกครองกลาง  และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙

            ว่าจำเลยได้ยื่นฟ้องโจทก์เป็นเรื่องเดียวกันนี้ต่อ  วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณา
            ศาลปกครองกลาง ในคดีหมายเลขดำที่ ๒๑๘๐/๒๕๕๗   พิพากษาหรือมีคำสั่งในเรื่องดังต่อไปนี้ (๔) คดีพิพาท

            ขอให้เพิกถอนคำสั่งที่ให้ผู้ฟ้องคดี (จำเลยในคดีนี้)   เกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง และมาตรา ๓ แห่ง

            ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนความรับผิดทางละเมิดแก่  พระราชบัญญัติเดียวกันนิยาม “สัญญาทางปกครอง”
            ผู้ถูกฟ้องคดี (โจทก์ในคดีนี้) ข้อพิพาทในคดีนี้จึงเป็น  หมายความรวมถึง สัญญาที่คู่สัญญาอย่างน้อยฝ่ายใด

            กรณีที่มีมูลความแห่งคดีเดียวกันกับคดีหมายเลขดำ  ฝ่ายหนึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครองหรือเป็นบุคคล
            ที่ ๒๑๘๐/๒๕๕๗ ของศาลปกครองกลาง จึงควร  ซึ่งกระทำการแทนรัฐ และมีลักษณะเป็นสัญญา

            ที่จะได้ดำเนินกระบวนพิจารณาที่ศาลเดียวกัน เพื่อให้  สัมปทาน สัญญาที่ให้จัดทำบริการสาธารณะ หรือจัดให้
            คำพิพากษาเป็นไปในแนวทางเดียวกัน คดีนี้จึงชอบ  มีสิ่งสาธารณูปโภคหรือแสวงประโยชน์จากทรัพยากร

            ที่จะได้รับการพิจารณาพิพากษาที่ศาลปกครอง        ธรรมชาติ เมื่อผู้ฟ้องคดีเป็นหน่วยงานทางปกครอง

                                                            และมีภารกิจในการจัดทำบริการสาธารณะ ส่วนสัญญา
                   (๓) คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาลาศึกษาต่อ  การลาศึกษาหรือไปศึกษานอกเวลา ฉบับพิพาทดังกล่าว

            ระหว่างรัฐวิสาหกิจซึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครอง  ก็มีวัตถุประสงค์หลักให้ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ไปศึกษา
            กับเจ้าหน้าที่ อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของ  เพื่อนำความรู้ที่ได้รับกลับมาดำเนินกิจการเพื่อสนับสนุน

            ศาลปกครอง                                       ภารกิจของผู้ฟ้องคดี จึงเป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์
                                                            เพื่อประโยชน์ในการจัดทำบริการสาธารณะ สัญญา

            คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล          พิพาทจึงมีลักษณะเป็นสัญญาทางปกครองตาม
            ที่ ๑๑๑/๒๕๖๑                                    บทนิยามมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว

                   คดีนี้ ผู้ฟ้องคดีเป็นรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้น  ข้อพิพาทเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามสัญญาจึงเป็น

            โดยพระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย  ข้อพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองที่อยู่ในอำนาจ

            พ.ศ. ๒๕๑๑ จึงมีฐานะเป็นหน่วยงานทางปกครอง  พิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง ตามมาตรา ๙

            ตามมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง  วรรคหนึ่ง (๔) แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน สำหรับสัญญา
            และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ การที่ผู้ฟ้องคดี  ค้ำประกันระหว่างผู้ฟ้องคดีกับผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ นั้น

            ฟ้องให้ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ซึ่งเป็นพนักงานตำแหน่งสถาปนิก  เป็นสัญญาอุปกรณ์ของสัญญาทางปกครองซึ่งเป็น

            ระดับ ๘ แผนกออกแบบอาคาร กองสถาปัตยกรรม  สัญญาหลัก  เมื่อข้อพิพาทเกี่ยวกับสัญญาหลัก

            ฝ่ายออกแบบและบริหารงานก่อสร้าง รับผิดตามสัญญา  อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง

            การลาศึกษาหรือไปศึกษานอกเวลา เพื่อศึกษาในระดับ  ดังนั้นข้อพิพาทเกี่ยวกับสัญญาค้ำประกันซึ่งเป็นสัญญา
            คุณวุฒิปริญญาเอก สาขาก่อสร้าง ที่มหาวิทยาลัย  อุปกรณ์ จึงอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของ

            แฮเรียต-วัตต์ หลักสูตร ๔๘ เดือน ณ ประเทศสก๊อตแลนด์  ศาลปกครองเช่นเดียวกัน





           74    ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔
                 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81