Page 74 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 74

คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล          คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล

            ที่ ๒๕/๒๕๕๙                                     ที่ ๔๙/๒๕๔๘
                   คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยซึ่งเป็นโรงเรียน        คดีที่ลูกจ้างประจำตำแหน่งนักการภารโรง

            ของรัฐให้ชดใช้ค่าเสียหายจากการเลิกจ้างโจทก์  เป็นโจทก์ยื่นฟ้องจำเลยในฐานะผู้อำนวยการโรงเรียน

            เป็นครูสอนภาษาอังกฤษ โดยไม่บอกกล่าวล่วงหน้า  ชุมชนวัดบ้านแก่งซึ่งเป็นโรงเรียนของรัฐว่า จำเลย
            และบอกเลิกจ้างโดยโจทก์ไม่มีความผิด เห็นว่า  ซึ่งขณะเกิดเหตุเป็นผู้บังคับบัญชาโจทก์มีคำสั่งเลิกจ้าง

            พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา  โจทก์จากการเป็นลูกจ้างประจำ อ้างว่าโจทก์กระทำผิด
            คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า   วินัยและมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม โดยโจทก์ไม่มี

            ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่ง  โอกาสได้โต้แย้งข้อเท็จจริงตามที่ถูกกล่าวหา ทั้งไม่มี
            ในเรื่องดังต่อไปนี้ (๔) คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญา  การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง อันเป็น


            ทางปกครอง และมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน  การละเมิดต่อโจทก์เป็นเหตุให้โจทก์ต้องสูญเสียรายได้
            บัญญัติว่า สัญญาทางปกครอง หมายความรวมถึง  สิทธิประโยชน์อื่น ๆ และได้รับความเดือดร้อนเสียหาย
            สัญญาที่คู่สัญญาอย่างน้อยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็น  ต่อตนเองรวมถึงครอบครัว ขอให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหาย

            หน่วยงานทางปกครองหรือเป็นบุคคลซึ่งกระทำการ  ค่าขาดรายได้ ค่าขาดประโยชน์ เงินบำเหน็จ ค่าสหกรณ์
            แทนรัฐ และมีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้  ออมทรัพย์ครูจังหวัดนครสวรรค์ และค่าสวัสดิการต่าง ๆ

            จัดทำบริการสาธารณะ หรือจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค  ส่วนจำเลยให้การว่า ได้ปฏิบัติหน้าที่โดยชอบด้วย
            หรือ แสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ คดีนี้  กฎหมายและระเบียบของทางราชการแล้ว เมื่อ

            จำเลยเป็นสถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงเป็น  ความสัมพันธ์ระหว่างโจทก์ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ

            หน่วยงานทางปกครอง การที่จำเลยตกลงทำสัญญา  กับจำเลยซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาเป็นไปตามกฎหมาย

            ว่าจ้างโจทก์เข้าทำงานตำแหน่งครูสอนภาษาอังกฤษ  ได้แก่ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยลูกจ้างประจำ
            สัญญาดังกล่าวจึงเป็นสัญญาที่มีคู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง  ของส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๓๗ เหตุแห่งการฟ้องคดี

            เป็นหน่วยงานทางปกครองและมีวัตถุแห่งสัญญา  สืบเนื่องมาจากการที่จำเลยมีคำสั่งเลิกจ้างโจทก์
            เป็นการให้โจทก์เข้าร่วมจัดทำบริการสาธารณะ  เมื่อคำสั่งดังกล่าวเป็นผลให้โจทก์พ้นจากสถานภาพ
            ด้านการศึกษาขั้นพื้นฐานตามอำนาจหน้าที่ของจำเลย  เป็นลูกจ้างประจำนับแต่วันที่ระบุในคำสั่ง ทำให้

            สัญญาดังกล่าวจึงเป็นสัญญาทางปกครอง ข้อพิพาท  ไม่มีสิทธิที่จะรับเงินเดือนหรือสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ

            ในคดีนี้จึงเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง  จึงเป็นคำสั่งทางปกครอง  คดีนี้จึงเป็นกรณีพิพาท
            ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) แห่งพระราชบัญญัติ  เกี่ยวกับการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐอันเกิด


            จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง  จากการใช้อำนาจตามกฎหมาย หรือจากกฎ คำสั่ง
            พ.ศ. ๒๕๔๒ อันอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษา  ทางปกครอง หรือคำสั่งอื่น อันอยู่ในอำนาจพิจารณา

            ของศาลปกครอง                                    พิพากษาของศาลปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓)

                                                            แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา

                                                            คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒










          72     ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔

                 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79