Page 75 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 75

คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล           คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล

               ที่ ๓๖/๒๕๔๘                                      ที่ ๔๒/๒๕๕๙
                       คดีที่ลูกจ้างเป็นโจทก์ยื่นฟ้อง สสวท. ซึ่งเป็น     คดีที่ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง

               หน่วยงานทางปกครองเป็นจำเลยว่า เลิกจ้างโดยไม่มี  และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย โจทก์ ซึ่งเป็นหน่วยงาน

               ความผิด ไม่บอกกล่าวล่วงหน้า ไม่ออกหนังสือรับรอง  ทางปกครอง ฟ้องขอให้จำเลยซึ่งเป็นเอกชนชดใช้
               การทำงานให้ ขอให้บังคับจำเลยจ่ายสินจ้างแทน  ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ โดยกล่าวอ้างว่าในขณะที่


               การบอกกล่าวล่วงหน้า ค่าชดเชย ค่าจ้างสำหรับ  จำเลยดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคารโจทก์
                                   ี
               วันหยุดพักผ่อนประจำป และค่าเสียหายจากการเลิกจ้าง  ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
               ไม่เป็นธรรมตามสิทธิที่โจทก์ควรได้พร้อมดอกเบี้ย  อย่างร้ายแรง ฝ่าฝืนนโยบายและมติคณะกรรมการ

               และออกหนังสือรับรองการทำงานให้แก่โจทก์ เมื่อจำเลย  ธนาคารโจทก์ โดยปล่อยให้มีการอำนวยสินเชื่อ

               เป็นหน่วยงานของรัฐมีภารกิจในการบริการสาธารณะ   เกินวงเงินที่คณะกรรมการธนาคารโจทก์กำหนด

               ความสัมพันธ์ระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงเป็นความ  เห็นได้ว่าสัญญาจ้างจำเลยเป็นกรรมการผู้จัดการ
               สัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานของรัฐซึ่งมีอำนาจเหนือ  ของโจทก์ซึ่งเป็นผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจนั้นมีลักษณะ

               ลูกจ้างที่เป็นคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเพื่อให้เข้าร่วมปฏิบัติ  เป็นการจ้างบริหารกิจการเพื่อจัดทำบริการสาธารณะ
               ภารกิจบริการสาธารณะของหน่วยงานของรัฐอันเป็น  ในอำนาจหน้าที่ของโจทก์ มิใช่การจ้างแรงงาน

               ความสัมพันธ์ตามกฎหมายมหาชน ไม่ใช่ความสัมพันธ์  ตามความหมายของสัญญาจ้างแรงงาน ตามประมวล
               ในฐานะลูกจ้างกับนายจ้างตามสัญญาจ้างแรงงาน  กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๕๗๕ สัญญาจ้าง

               ในกฎหมายแพ่งทั่วไป ข้อตกลงจ้างทำงานระหว่าง  จำเลยเป็นกรรมการผู้จัดการของโจทก์ จึงเป็นสัญญา

               โจทก์กับจำเลยจึงไม่เป็นสัญญาจ้างแรงงาน แต่เป็น  ที่หน่วยงานทางปกครองให้เอกชนเข้าจัดทำบริการ
               ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานทางปกครองกับ  สาธารณะ ซึ่งเป็นสัญญาประเภทหนึ่งของสัญญา

               ลูกจ้างในสังกัดที่มีขึ้นเพื่อร่วมกันในการจัดทำบริการ  ทางปกครอง ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) แห่ง
               สาธารณะ ข้อตกลงจ้างดังกล่าวจึงเป็นสัญญาทาง  พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา

               ปกครอง ตามมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง  คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อการ

               ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒  ยื่นฟ้องคดีนี้เป็นการฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทน

               เมื่อกรณีพิพาทคดีนี้สืบเนื่องมาจากสัญญาทางปกครอง  อันเกิดจากการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐ



               คดีจึงอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง  ในการอำนวยสินเชื่อโครงการสินเชื่อชะลอการเลิกจ้าง
               ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) แห่งพระราชบัญญัติ  แรงงานเกินกว่าวงเงินที่มติคณะกรรมการธนาคารโจทก์

               จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง  อนุมัติไว้ และแก้ไขหลักเกณฑ์ของโครงการสินเชื่อ

               พ.ศ. ๒๕๔๒                                        ชะลอการเลิกจ้าง ทำให้ธนาคารมีความเสี่ยงทางเครดิต

                                                                เพิ่มขึ้น เป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนมติของคณะกรรมการโจทก์
                       (๒) คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาจ้างงานระหว่าง  ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหาย อันเป็นการปฏิบัติ

               ผู้บริหารรัฐวิสาหกิจกับหน่วยงานอยู่ในอำนาจพิจารณา  หน้าที่ทั่วไปในการประกอบธุรกิจ มิได้เกิดจากการ
               พิพากษาของศาลปกครอง                              ใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือ

                                                                หน่วยงานทางปกครอง จึงไม่ใช่คดีพิพาทเกี่ยวกับ




                                                                           ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔  73
                                                                           คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80