Page 72 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 72
คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล สัญญาทางปกครอง ข้อพิพาทในคดีนี้จึงเป็นคดีพิพาท
ที่ ๑๘๓/๒๕๖๐ เกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔)
คดีที่ผู้ฟ้องคดีฟ้องขอให้สถานีวิทยุโทรทัศน์ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธี
แห่งประเทศไทย ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ซึ่งเป็นหน่วยงาน พิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งอยู่ในอำนาจ
ทางปกครอง ชำระค่าชดเชยและค่าขาดรายได้ พิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง
พร้อมดอกเบี้ย เนื่องจากเลิกจ้างผู้ฟ้องคดีโดยไม่มี
ความผิดและให้ผู้ฟ้องคดีลาออกโดยไม่สมัครใจ เห็นว่า คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา ที่ ๘๑/๒๕๕๙
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า สัญญาที่มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ จำเลย
ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่ง ว่าจ้างโจทก์ให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานธุรการทั่วไป
ในเรื่องดังต่อไปนี้ (๔) คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญา เป็นสัญญาที่มีคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งเป็นหน่วยงาน
ทางปกครอง และมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน ทางปกครองและมีวัตถุประสงค์เป็นการให้โจทก์เข้าร่วม
บัญญัติว่า สัญญาทางปกครอง หมายความรวมถึง จัดทำบริการสาธารณะด้านการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
สัญญาที่คู่สัญญาอย่างน้อยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็น ตามอำนาจหน้าที่ของจำเลย ความสัมพันธ์ระหว่าง
หน่วยงานทางปกครองหรือเป็นบุคคลซึ่งกระทำการ โจทก์และจำเลยจึงเป็นความสัมพันธ์ตามกฎหมาย
แทนรัฐ และมีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้ มหาชนเพื่อให้บริการสาธารณะบรรลุผล ไม่ใช่
จัดทำบริการสาธารณะ หรือจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างตามกฎหมาย
หรือแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ เมื่อ เอกชน สัญญาดังกล่าวจึงเป็นสัญญาทางปกครอง
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ข้อพิพาทในคดีนี้จึงเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญา
ในการจัดทำบริการสาธารณะด้านการประชาสัมพันธ์ ทางปกครอง ซึ่งอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษา
การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ตกลงทำสัญญาว่าจ้างผู้ฟ้องคดี ของศาลปกครอง
ให้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยบรรณาธิการข่าวในประเทศ
โดยกำหนดให้ผู้ฟ้องคดีมีหน้าที่ในการตรวจสอบ คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
เนื้อหาข่าวของผู้สื่อข่าวที่ผลิตเสร็จ ตรวจบทข่าวที่ส่ง ที่ ๓๙/๒๕๕๙
มาจากภูมิภาค และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ผู้ว่าจ้าง กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
กำหนด สัญญาดังกล่าวจึงเป็นสัญญาที่มีคู่สัญญา ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ เป็นหน่วยงานของรัฐที่เป็นนิติบุคคล
ฝ่ายหนึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครองและมีวัตถุประสงค์ แต่ไม่เป็นส่วนราชการตามพระราชบัญญัติกองทุน
แห่งสัญญาเป็นการให้ผู้ฟ้องคดีเข้าร่วมจัดทำบริการ สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๔๔ มีภารกิจ
สาธารณะด้านการประชาสัมพันธ์ตามอำนาจหน้าที่ เกี่ยวกับการส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ฟ้องคดี ในประชากรทุกวัยตามนโยบายสุขภาพแห่งชาติ
และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ตามสัญญาจ้างดังกล่าวจึงเป็น ซึ่งเป็นการจัดทำบริการสาธารณะด้านการสาธารณสุข
ความสัมพันธ์ตามกฎหมายมหาชนเพื่อให้บริการ ของรัฐ จึงมีฐานะเป็นหน่วยงานทางปกครอง
สาธารณะบรรลุผล ไม่ใช่ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้าง ส่วนผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ เป็นเจ้าหน้าที่และมีอำนาจ
กับลูกจ้างตามกฎหมายเอกชน สัญญาดังกล่าวจึงเป็น หน้าที่บริหารกิจการของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ให้เป็นไป
70 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล