Page 69 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 69
เห็นว่า เมื่อได้วินิจฉัยแล้วว่าสถานะของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ค่าชดเชยกรณีเลิกจ้างเนื่องจากเกษียณอายุให้แก่
เป็นองค์การมหาชน ซึ่งเป็นหน่วยงานอื่นของรัฐ โจทก์ทั้งสี่ อันเป็นการไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
และมีฐานะเป็นหน่วยงานทางปกครอง การลงโทษ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และพระราชบัญญัติ
ทางวินัยผู้ฟ้องคดีซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ย่อมเป็น หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔
การใช้อำนาจทางปกครอง คดีนี้จึงเป็นคดีพิพาท วรรคสอง ขอให้บังคับจำเลยให้ปฏิบัติตามกฎหมาย
เกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจทางปกครอง คุ้มครองแรงงานโดยจ่ายค่าชดเชยพร้อมดอกเบี้ย
ไม่ใช่คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญา นอกจากนี้ มาตรา ๗ นับแต่วันเลิกจ้างเป็นต้นไปจนกว่าชำระเสร็จให้แก่โจทก ์
แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ กำหนด ทั้งสี่ เห็นว่า เมื่อจำเลยเป็นหน่วยงานทางปกครอง
วัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ และให้การดำเนินงาน ความสัมพันธ์ระหว่างโจทก์ทั้งสี่กับจำเลยเป็นสัมพันธ์
ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ ที่เป็นไปเพื่อให้โจทก์ทั้งสี่เข้าเป็นผู้ปฏิบัติงาน
นายกรัฐมนตรี ซึ่งลักษณะดังกล่าวไม่อาจพบได้ ในหน่วยงานจำเลยอันเป็นการจัดทำบริการสาธารณะ
ในการดำเนินงานของนิติบุคคลเอกชน ดังนั้น จึงเป็นความสัมพันธ์ตามกฎหมาย ซึ่งได้แก่
การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ จ้างผู้ฟ้องคดีเข้าทำงาน พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ในหน่วยงานของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ จึงไม่ใช่ความสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๕ และข้อบังคับสำนักงานหลักประกัน
ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างตามกฎหมายเอกชน สุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคล
แต่มีลักษณะเป็นข้อตกลงที่ให้ผู้ฟ้องคดีเข้าร่วมจัดทำ พ.ศ. ๒๕๔๖ (ที่ใช้บังคับขณะที่โจทก์ทั้งสี่เกษียณอายุ)
บริการสาธารณะกับผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ อันเป็น มิใช่ความสัมพันธ์อันเกิดจากสัญญาจ้างแรงงาน
นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายมหาชน เข้าลักษณะ ดังนั้น เมื่อโจทก์ทั้งสี่ฟ้องว่าจำเลยไม่ปฏิบัติตาม
เป็นสัญญาทางปกครอง ข้อพิพาทตามคำฟ้องของ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
ผู้ฟ้องคดีจึงมิใช่คดีพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ และพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ตามสัญญาจ้างแรงงาน หรือตามข้อตกลงเกี่ยวกับ พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ วรรคสอง ขอให้บังคับ
สภาพการจ้าง ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน จำเลยปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๘ จึงเป็นกรณีที่โจทก์ทั้งสี่ฟ้องว่าจำเลยละเลยต่อหน้าที่
วรรคหนึ่ง (๑) อันจะอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษา ในการจ่ายค่าชดเชยตามที่กฎหมายกำหนดให้แก่โจทก์
ของศาลแรงงาน ๒ ทั้งสี่ ข้อพิพาทในคดีนี้จึงเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับ
การกระทำละเมิดอันเกิดจากการละเลยต่อหน้าที่
คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล ตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติตามมาตรา ๙
ที่ ๑๗๓/๒๕๖๑ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง
คดีที่โจทก์ทั้งสี่ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่สังกัด และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งอยู่
หน่วยงานจำเลยยื่นฟ้องจำเลยกรณีมีคำสั่งให้โจทก์ ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง ๓
ทั้งสี่ออกจากงานเนื่องจากเกษียณอายุ แต่ไม่จ่าย
๒ คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลที่ ๑๐๐/๒๕๖๓, ๑๐๖/๒๕๖๓ และ ๑๐๗/๒๕๖๓ วินิจฉัยทำนองเดียวกัน
๓ คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลที่ ๙/๒๕๖๒, ๒๑/๒๕๖๒ และ ๒๒/๒๕๖๒ วินิจฉัยทำนองเดียวกัน
ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔ 67
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล