Page 89 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 89

ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร  หน้าที่ระหว่างศาลใช้หลักเกณฑ์ “การบริการสาธารณะ”
               นั้นก่อความเสียหายให้แก่ผู้ฟ้องคดี แต่คดีที่ผู้ฟ้องคดี  และ “หลักเกณฑ์ว่าด้วยเอกสิทธิ์ของฝ่ายปกครอง”
               หรือโจทก์ซึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครองฟ้องขอให้  ซึ่งหลักเกณฑ์ทั้งสองประการเป็นสาระสำคัญที่ทำให้

               ผู้ถูกฟ้องคดีหรือจำเลยคืนเงินที่ได้รับไปโดยไม่มีสิทธิ  สัญญาทางปกครองแตกต่างจากสัญญาทางแพ่ง
               หรือรับไปเกินสิทธิ โดยการที่ผู้ถูกฟ้องคดีหรือจำเลย  เพราะสัญญาทางปกครองเป็นเครื่องมือของฝ่ายปกครอง

               รับเงินดังกล่าวจากหน่วยงานทางปกครองไปนั้น  ในการจัดทำบริการสาธารณะซึ่งเป็นภารกิจของ
               มิใช่กรณีที่ผู้ถูกฟ้องคดีหรือจำเลยใช้อำนาจตาม  ฝ่ายปกครอง ส่วนเอกสิทธิ์ของฝ่ายปกครองเป็น


               กฎหมายในการออกกฎ คำสั่งทางปกครองหรือคำสั่งอื่น  ข้อกำหนดในสัญญาซึ่งมีลักษณะพิเศษที่แสดงถึง
               หรือกระทำการอื่นใด ทั้งมิใช่กรณีที่ผู้ถูกฟ้องคดี  เอกสิทธิ์ของรัฐที่ไม่อาจพบเห็นได้ในสัญญาระหว่าง

               หรือจำเลยละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดให้  เอกชนกับเอกชน และเหตุจำเป็นที่จะต้องให้รัฐ
               ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร  มีเอกสิทธิ์เหนือคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งในสัญญาทาง

               แต่อย่างใด ดังนั้น คดีลักษณะนี้จึงไม่ใช่คดีปกครอง  ปกครอง ก็เพื่อให้การใช้อำนาจทางปกครองหรือ
               ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง  การดำเนินกิจการทางปกครองซึ่งก็คือการบริการ


               ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒  สาธารณะบรรลุผล
               ที่จะอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง              มีข้อน่าสนใจในเรื่องสัญญาจ้างบุคลากร

               เมื่อไม่อยู่ในอำนาจศาลปกครองซึ่งเป็นศาลที่มี  ภาครัฐ ซึ่งคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่
               เขตอำนาจเฉพาะแล้ว จึงเป็นคดีที่อยู่ในอำนาจ  ระหว่างศาลได้วางหลักเกณฑ์การแบ่งแยกสัญญาจ้าง

               พิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรมซึ่งเป็นศาลที่มี  ดังกล่าวไว้ ๓ ประการใหญ่ ๆ ได้แก่
               เขตอำนาจในคดีทั้งปวงที่ไม่มีกฎหมายกำหนดให้              (๑) สัญญาจ้างระหว่างส่วนราชการโดยแท้

               อยู่ในอำนาจศาลอื่น                               ซึ่งได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่อ
                       หรือคำวินิจฉัยในคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญา  อย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค

               ที่คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครองหรือ  ราชการส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นของรัฐ เช่น
               ผู้กระทำการแทนรัฐ ซึ่งคดีดังกล่าวอาจเป็นคดีพิพาท  องค์การมหาชน หรือหน่วยธุรการขององค์กรอิสระ

               ที่อยู่ในอำนาจศาลยุติธรรม หรือศาลปกครองก็ได้ ดังนั้น  ตามรัฐธรรมนูญ กับเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างของตน

               หลักเกณฑ์ในการพิจารณาว่าคดีจะอยู่ในเขตอำนาจ  สัญญาจ้างดังกล่าว เป็น “สัญญาทางปกครอง”

               ของศาลใด จึงมิได้พิจารณาเฉพาะตัวคู่สัญญาเท่านั้น  เพราะเป็นสัญญาที่ให้เจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างซึ่งเป็น

               แต่ต้องพิจารณาถึงลักษณะของสัญญาด้วย นอกเหนือ  เอกชนเข้ามาร่วมจัดทำบริการสาธารณะตามอำนาจ

               จากสัญญา ๔ ประเภทตามบทนิยาม “สัญญาทางปกครอง”  หน้าที่ของหน่วยงาน ความสัมพันธ์ตามสัญญาจ้าง

               ในมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง ดังกล่าว จึงเป็นความสัมพันธ์ตามกฎหมายมหาชน

               และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งได้แก่  เพื่อให้การบริการสาธารณะบรรลุผล ไม่ใช่เป็นความ

               สัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้จัดทำบริการสาธารณะ   สัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างตามกฎหมาย

               สัญญาจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค และสัญญาแสวง  เอกชน เช่น สัญญาจ้างอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัย
               ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติแล้ว โดยหลักสำคัญ  ของรัฐ ตามคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล

               ที่จะทำให้สัญญานั้นเป็นสัญญาทางปกครอง  ที่ ๒๗/๒๕๕๙ สัญญาจ้างเจ้าพนักงานบริหารงานทั่วไป

               แนวคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจ  มหาวิทยาลัยของรัฐ ตามคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่




                                                                           ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔  87
                                                                           คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94