Page 90 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 90
ระหว่างศาลที่ ๒๙/๒๕๕๙ และ ๘๑/๒๕๕๙ สัญญาจ้าง องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย
พนักงานให้ปฏิบัติงานในสำนักงานกองทุนสนับสนุน ตามคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
การสร้างเสริมสุขภาพ ตามคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจ ที่ ๕๖/๒๕๕๙ สัญญาจ้างพนักงาน สำนักงานสงเคราะห์
หน้าที่ระหว่างศาลที่ ๓๙/๒๕๕๙ สัญญาจ้างผู้อำนวยการ การทำสวนยาง ตามคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่
สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศ ระหว่างศาลที่ ๒๓/๒๕๔๙
เพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน) ตามคำวินิจฉัยชี้ขาด นอกจากนี้ยังมีคำวินิจฉัยในคดีพิพาทเกี่ยวกับ
อำนาจหน้าที่ระหว่างศาลที่ ๖๐/๒๕๖๑ การกระทำละเมิดของหน่วยงานทางปกครองหรือ
(๒) สัญญาจ้างผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ เป็น เจ้าหน้าที่ของรัฐอันเกิดจากการละเลยต่อหน้าที่ตามที่
“สัญญาทางปกครอง” เนื่องจากลักษณะของสัญญาจ้าง กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว
ผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ เป็นการจ้างบริหารกิจการ ล่าช้าเกินสมควรที่น่าสนใจ ได้แก่ กรณีที่เอกชนฟ้อง
เพื่อจัดทำบริการสาธารณะในอำนาจหน้าที่ของ หน่วยงานทางปกครองว่ากระทำละเมิดอันเนื่อง
รัฐวิสาหกิจ ทั้งกระบวนการได้มาซึ่งผู้บริหารของ มาจากการไม่ดูแลรักษาสายสื่อสารบนเสาไฟฟ้า
รัฐวิสาหกิจต้องดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยคุณสมบัติ หรือต้นไม้ริมทาง ซึ่งอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของ
มาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ตนให้อยู่ในสภาพปลอดภัย เมื่อมีเหตุให้เกิดความ
ซึ่งเป็นการจ้างบริหารเพื่อมุ่งผลสำเร็จ ประสิทธิภาพ เสียหายแก่ประชาชนที่ใช้รถใช้ถนนหรือใช้ทาง
และผลสัมฤทธิ์ของงานมากกว่าการจ้างแรงงาน มิใช่ เป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทำละเมิดที่อยู่ในอำนาจ
การจ้างแรงงานตามความหมายของสัญญาจ้างแรงงาน ศาลปกครอง ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) แห่ง
ตามแนวคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา
ที่ ๔๒/๒๕๕๙ และ ๘๓/๒๕๖๒ คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ เช่น คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจ
(๓) สัญญาจ้างระหว่างรัฐวิสาหกิจกับลูกจ้าง หน้าที่ระหว่างศาลที่ ๗๒/๒๕๖๓ ซึ่งเป็นการชี้ขาด
หรือพนักงาน เป็น “สัญญาจ้างแรงงาน” ที่อยู่ในอำนาจ ให้คดีประเภทนี้อยู่ในอำนาจศาลปกครองเพื่อให้
พิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรม โดยคณะกรรมการ ศาลปกครองซึ่งเป็นศาลที่มีหน้าที่และอำนาจ
วินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล ได้ให้เหตุผล ในการวินิจฉัยวางหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติราชการที่ดี
ไว้ว่า เนื่องจากรัฐวิสาหกิจมีวัตถุประสงค์ในการดำเนิน เพื่อเป็นแนวทางให้แก่หน่วยงานทางปกครองใช้
กิจการไปในเชิงธุรกิจการค้า ดังนั้น ความสัมพันธ์ระหว่าง เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติราชการต่อไป
รัฐวิสาหกิจกับพนักงานหรือลูกจ้าง ลักษณะของ
สัญญาจ้างมีลักษณะเป็นการจ้างแรงงาน จึงอยู่ในฐานะ
นายจ้างกับลูกจ้าง และอยู่ภายใต้บังคับของสัญญาจ้าง
แรงงานตามกฎหมายแพ่งทั่วไป ซึ่งก่อนที่ศาลปกครอง
เปิดทำการ ก็เป็นคดีที่อยู่ในอำนาจศาลแรงงานตาม
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา
คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ อันเข้าข้อยกเว้นเขตอำนาจ
ศาลปกครอง ตามมาตรา ๙ วรรคสอง (๓) แห่ง
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ เช่น สัญญาจ้างพนักงาน
88 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล