Page 190 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 190

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                                                                ั
                                                                     ี
                                                                                        32
                                                                                        ี
                                                   ี
                    1.) ใช้มาตรา 32 วรรคหน่ง ในฐานะท่เป็นข้อยกเว้นท่วไปท่ไม่จํากัดใช้เฉพาะกรณ   ทั้งนี้
                                         ึ
                                               ึ
            เพราะถ้อยคําของมาตรา 32 วรรคหน่งอ่านแล้วได้ความครบถ้วนในตัวของมันเอง กล่าวคือ
            หากการกระทําไม่ขัดต่อการแสวงหากประโยชน์ตามปกติและไม่กระทบกระเทือนสิทธิอัน
                                                                                              ึ
            ชอบด้วยกฎหมาย มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธ์ โดยไม่มีถ้อยคําใดจํากัดการใช้วรรคหน่ง
                                                          ิ
            เลยว่าต้องเป็นกรณีตามที่ระบุในวรรคสองหรือในมาตรา 33 ถึง 36 และมาตรา 43 แต่อย่างใด
                                                                                      ึ
            ในทางกลับกันจะพบว่าบทบัญญัติดังกล่าวล้วนอยู่ภายใต้บังคับของมาตรา 32 วรรคหน่ง ซ่งแสดง
                                                                                         ึ
            ให้เห็นว่ามาตราอื่น ๆ เหล่านั้นต่างหากที่ไม่มีอิสระในตัวเองแต่ต้องอาศัยมาตรา 32 วรรคหนึ่ง
            ในการใช้  อย่างไรก็ดี แม้จะมีความเห็นว่า มาตรา 32 วรรคหนึ่งไม่ใช่ข้อยกเว้นทั่วไปก็ตาม
                                                                                             33
            แต่ในทางนิติวิธีสําหรับคดีแพ่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  มาตรา  4  แล้ว
                                                                       ี
                                             ึ
                                                                                       ี
            หลักกฎหมายในมาตรา 32 วรรคหน่ง ก็อาจถูกนํามาใช้ในฐานะท่เป็นบทกฎหมายท่ใกล้เคียง
                  ิ
                                           ื
                                                         ี
                                                                          ั
                                                                                     ื
            อย่างย่งโดยใช้ประกอบกับมาตราอ่น หรือในฐานะท่เป็นหลักกฎหมายท่วไปเพราะเร่องดังกล่าว
            นั้นสอดคล้องกับหลักกฎหมายว่าด้วย three-step test ของ TRIPs Article 13 และเป็นกฎหมาย
            ท่ถือว่าเป็นสากล  สําหรับความรับผิดในทางอาญาของคดีลิขสิทธ์ซ่งต้องมีนิติวิธีแยกออกมา
              ี
                                                                        ึ
                                                                       ิ
                                    ่
                                    ั
                                                                              ั
                                                                     ่
                                                                     ี
                     ้
                     ั
            ต่างหากนน แม้จะมหลกทวไปว่า การใช้กฎหมายอาญาในทางทเป็นโทษกบจําเลยต้องใช้และ
                                 ั
                              ี
            ตีความกฎหมายลายลักษณ์อักษรอย่างเคร่งครัดโดยไม่นําการใช้บทกฎหมายท่ใกล้เคียงอย่างย่ง
                                                                                              ิ
                                                                                ี
                                                                      ื
                              ั
            หรือหลักกฎหมายท่วไปมาใช้ให้เป็นผลร้ายกับจําเลยก็ตาม แต่เร่องข้อยกเว้นไม่ให้ถือว่าเป็น
            การละเมิดลิขสิทธ์ตามมาตรา 32 วรรคหน่งน้ย่อมถือว่าเป็นคุณกับจําเลยซ่งมีความเห็นทาง
                            ิ
                                                                                ึ
                                                   ึ
                                                     ี
                                                                        ั
            วิชาการว่าน่าจะนําบทกฎหมายท่ใกล้เคียงอย่างย่งหรือหลักกฎหมายท่วไปมาใช้ได้  ความเห็นว่า
                                                      ิ
                                         ี
                                                                                  34
            มาตรา 32 วรรคหนึ่งน่าจะนํามาปรับใช้ได้ไม่ว่าทางใดก็ทางหนึ่งจึงมีนําหนัก
                                                                         ้
                    2.) ไม่มีข้อยกเว้นความรับผิด กล่าวคือ หากไม่สามารถใช้มาตรา 32 วรรคหนึ่งมาปรับใช้
            ได้ไม่ว่าจะโดยตรงหรือในฐานะท่เป็นบทกฎหมายท่ใกล้เคียงอย่างย่งหรือหลักกฎหมายท่วไป
                                          ี
                                                          ี
                                                                                           ั
                                                                        ิ
            ผู้ที่ทําการ linking หรือ framing ต้องรับผิดทุกกรณี ซึ่งการตีความในลักษณะนี้น่าจะแข็งกระด้าง
                                                                                       ี
            เกินไปและไม่สอดคล้องกับนโยบายในการบังคับใช้กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาท่ต้องการ
                                                                                             ื
            คุ้มครองประโยชน์ของเจ้าของงานและขณะเดียวกันก็สนับสนุนการเผยแพร่วิทยาการเพ่อ
            ประโยชน์ของสังคม  35
                    32   ความเห็นทางวิชาการที่สนับสนุนการตีความแนวนี้ ดูคําอธิบายกฎหมายลิขสิทธิ์ (น.130 ถึง 137) โดยชาญชัย
            อารีวิทยาเลิศและอํานาจ  เนตยสุภา 2558, กรุงเทพฯ: วิญญูชน
                    33   ความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ (น.97 และ 98) โดยพิศวาส  สุคนธพันธุ์, กรุงเทพฯ: นิติธรรม
                    34   กฎหมายอาญา ภาค 1 (น.49) โดยหยุด แสงอุทัย 2556, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กฎหมายอาญา
            ภาคทั่วไป (น.93) โดยคณิต ณ นคร 2556, กรุงเทพฯ: วิญญูชน. คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1 เล่ม 1 (น.10 ถึง 19) โดย
            เกียรติขจร  วัจนะสวัสดิ์ 2562, กรุงเทพฯ: พลสยาม.
                    35   TRIPs Article 7
            188
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195