Page 186 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 186

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                                                                                       ี
                    2.) ตีความขยายคําว่า เผยแพร่ต่อสาธารณชน ว่าจํากัดเฉพาะการกระทําท่เป็นการ
            เผยแพร่ต่อสาธารณชนกลุ่มใหม่ และจะเป็นสาธารณชนกลุ่มใหม่ต่อเม่อเป็นการ linking หรือ
                                                                          ื
                             ี
                                 ึ
                                                  ิ
                                                                    ี
                                                                             ิ
            framing ไปยังงานท่ทําข้นโดยละเมิดลิขสิทธ์หรือกระทําต่องานท่ถูกลิขสิทธ์ท่มีการวางมาตรการ
                                                                              ี
            จํากัดการเข้าถึงไว้ (protection measure) ดังที่ CJEU ตีความขยายถ้อยคําใน InfoSoc Directive
            ซึ่งไม่ได้เขียนไว้ชัดแจ้งว่าต้องเป็น new public แต่อย่างใด แต่เป็นหลักกฎหมายที่เกิดจากการ
            ตีความของ CJEU
                    3.) ใช้หลักทั่วไปในเรื่องละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 432 ที่

                                                                    ึ
                                   ี
            วางหลักกฎหมายในกรณีท่บุคคลหลายคนก่อให้เกิดความเสียหายข้นโดยร่วมกันทําละเมิด กล่าวคือ
            แม้การ linking หรือ framing จะไม่ใช่การทําซาหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนก็ตาม แต่ถือเป็น
                                                      ํ
                                                      ้
                               ื
            การสนับสนุนบุคคลอ่นให้ละเมิดลิขสิทธ์ได้ เช่น มีบุคคลท่สามอาศัย link ดังกล่าวเข้าถึงงาน
                                                ิ
                                                                ี
                                                  ี
            แล้วดาวน์โหลดงานดังกล่าว โดยให้ถือว่าผู้ท่ดาวน์โหลดงานดังกล่าวเป็นผู้กระทําละเมิดโดยตรง
                   ี
            ส่วนผู้ท่ linking หรือ framing เป็นผู้สนับสนุนหรือร่วมกระทําละเมิด อย่างไรก็ดี ความยาก
            ในการตีความในทางน้ประการหน่งคือโจทก์ต้องบรรยายฟ้องและนําสืบให้เห็นด้วยว่ามีบุคคล
                                          ึ
                                ี
            ที่สามที่เป็นผู้กระทําละเมิดโดยตรงดังที่ปรากฏในคดี Hateful Eight ของสหรัฐอเมริกา
                    5.1.3 กระท�าโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์
                                                                                  ้
                    หากผู้ปรับใช้กฎหมายพิจารณาว่าการ linking หรือ framing เป็นการทําซาหรือเผยแพร่
                                                                                  ํ
            ต่อสาธารณชนซึ่งบทความนี้ได้วินิจฉัยในเรื่องดังกล่าวไว้แล้วใน 5.1.1 และ 5.1.2 ปัญหาต่อมา
                                                                                        ิ
              ี
                                                                                     ิ
            มว่าเป็นการทาซาหรอเผยแพร่ต่อสาธารณชนโดยไม่ได้รบอนญาตจากเจ้าของลขสทธตาม
                                                                ั
                                                                                          ์
                                                                                          ิ
                                                                    ุ
                            ้
                            ํ
                         ํ
                               ื
            มาตรา 15 (5) หรือไม่
                    โดยท่วไปแล้ว กรณีละเมิดลิขสิทธ์ในลําดับรองตามมาตรา 31 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธ  ์ ิ
                        ั
                                                ิ
            พ.ศ. 2537 ไม่จําเป็นต้องวินิจฉัยว่าเจ้าของงานยินยอมให้มีการทําซําหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน
                                                                      ้
            หรือไม่ เพราะเป็นเรื่องที่เจตนารมณ์ของกฎหมายเล็งเห็นไว้แล้วว่า หากมีการละเมิดลิขสิทธิ์ใน
                                                         ิ
                         ึ
                                                                             ํ
                                                                                          ึ
            ลําดับแรกเกิดข้นแล้ว ย่อมต้องถือว่าเจ้าของลิขสิทธ์ไม่ยินยอมให้มีการทําซาหรือเผยแพร่ซ่งงาน
                                                                             ้
                                                          ู้
                             ิ
                                                  ั
                                    ิ
                               ิ
              ี
            ท่เกิดจากการละเมดลขสิทธ์ดังกล่าวต่อ ดังน้น หากผใช้กฎหมายมองว่าการ linking หรือ framing
                       ํ
            เป็นการทําซาหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนซ่งงานท่ละเมิดลิขสิทธ์  ก็ย่อมถือได้ว่าเป็นการละเมิด
                       ้
                                                                    ิ
                                                  ึ
                                                        ี
            ตามมาตรา 31 โดยไม่จําเป็นต้องพิจารณาความยินยอมของเจ้าของงานแต่อย่างใด
                                                                   ี
                                                      ิ
                    อย่างไรก็ดี สําหรับการละเมิดลิขสิทธ์ในลําดับแรกท่กระทําต่อตัวงานอันมีลิขสิทธ ิ ์
            โดยตรงและมักเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในกรณี linking and framing นั้น การทําซาหรือเผยแพร่
                                                                                  ้
                                                                                  ํ
                                                 ิ
                                                       ื
            ต่อสาธารณชนจะเป็นการละเมิดลิขสิทธ์ก็ต่อเม่อไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธ์ ตาม
                                                                                         ิ
            184
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191