Page 183 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 183
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
อยู่บนโปรแกรมโดยตรง กรณีดังกล่าวศาลของเนเธอร์แลนด์ส่งประเด็นให้ CJEU วินิจฉัยว่า
การกระทําของจําเลยเป็น communication to the public หรือไม่
คดีดังกล่าวศาลวินิจฉัยว่าการกระทําของโปรแกรม Filmspeler ถือเป็นการเผยแพร่
ี
ึ
ี
ั
สาธารณชนเพราะมีสาธารณชนกลุ่มใหม่ (new public) เกิดข้น น่นคือ กลุ่มบุคคลท่รับชมงานท่ละเมิด
ิ
ี
ึ
ิ
ี
ึ
ี
ลิขสิทธ์ซ่งงานท่ละเมิดลิขสิทธ์เหล่าน้แน่นอนว่าเป็นงานท่เกิดข้นนอกเหนือความคาดหมาย
ของเจ้าของลิขสิทธิ์
4.6 วิเคราะห์กฎหมายของสหภาพยุโรป
จากการศึกษากฎหมายของสหภาพยุโรปในข้างต้นจะได้ข้อสรุปดังต่อไปนี้
ี
ิ
1.) การ linking หรือ framing โดยอ้างถึงงานท่ถูกลิขสิทธ์ ไม่ถือว่าเป็นการเผยแพร่
ต่อสาธารณชนหากไม่ปรากฏว่าเจ้าของงานอันมีลิขสิทธ์หวงก้นการใช้งานเว็บไซต์ของตน
ิ
ั
เช่น การใช้เทคโนโลยีป้องกันการเข้าถึง (technological measure) เป็นต้น (คดี Svensson,
C More Entertainment และ BestWater)
ี
ิ
2.) การ framing เว็บไซต์งานท่ละเมิดลิขสิทธ์ให้มาปรากฏบนเว็บไซต์ของตนถือว่าเป็นการ
เผยแพร่ต่อสาธารณชนที่ต้องห้ามตาม InfoSoc Directive หากรู้ว่างานที่นํามาเผยแพร่นั้นเป็น
งานที่ทําขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ (คดี Filmspeler)
5. สถานการณ์ทางกฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศไทย
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มีโครงสร้างทางกฎหมายที่สามารถแยกวินิจฉัยได้
2 ส่วน ได้แก่ การกระทําที่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์และข้อยกเว้นของการกระทําที่เป็นการละเมิด
ิ
ลิขสิทธ์ ซ่งการวินิจฉัยความรับผิดทเกดจากการ linking หรือ framing อาจแยกวินิจฉัยตามเน้อหา
ี
่
ึ
ื
ิ
ของบทบัญญัติดังกล่าวได้ดังต่อไปนี้
5.1 การกระท�าที่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
5.1.1 การท�าซ�้าหรือดัดแปลง
จากนิยามของคําว่า “ทําซา” ในมาตรา 4 สามารถแบ่งองค์ประกอบท่สําคัญ ๆ ได้
ี
ํ
้
ดังต่อไปนี้
ก.) การคัดลอกไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ เลียนแบบ ทําสําเนา ทําแม่พิมพ์ ฯลฯ
ข.) เป็นการคัดลอกจากต้นฉบับ สําเนา หรือการโฆษณาในส่วนอันเป็นสาระสําคัญ
ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน
181