Page 179 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 179

ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564




            4. กฎหมายของสหภาพยุโรป

                                                    ิ
                                                           ั
                                                      ุ
                                   ิ
                             ิ
                    กฎหมายลขสทธของประเทศสมาชกยโรปนนอย่ภายใต้กฎหมายลายลกษณ์อกษร
                                   ์
                                ิ
                                                                                    ั
                                                                                           ั
                                                                ู
                                                           ้
            ที่เรียกว่า Directive ที่ 2001/29/EC on the harmonization of certain aspects of copyright
            and related rights in the information society หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า InfoSoc Directive ซึ่งเป็น
                      ี
                               ึ
                                                                         ิ
                                                             ี
                                   ื
            กฎหมายท่บัญญัติข้นเพ่อทํากฎหมายสารบัญญัติเก่ยวกับลิขสิทธ์ในประเทศสมาชิกเป็น
                                         ึ
                                             ื
            อันหน่งอันเดียวกันและตราข้นเพ่อให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ของสังคมแห่งข้อมูล
                   ึ
            (information society) ในปัจจุบัน
                    แม้ประเทศสมาชิกจะมีกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาอันเป็นกฎหมายภายในของ
            แต่ละรัฐ แต่สภาพของ Directive นั้นก็มีผลบังคับใช้โดยตรง (direct effect) กับประเทศสมาชิก
            และศาลมีหน้าที่ต้องบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว  แต่หากมีปัญหาเกี่ยวกับการใช้และการตีความ
            กฎหมายก็สามารถเสนอให้ศาล EU หรือ Court of Justice of the European Union (CJEU)
            วินิจฉัยได้ และคําวินิจฉัยของ CJEU จะมีผลผูกพันบังคับศาลของประเทศสมาชิกให้ต้องปฏิบัติ
            ตาม โดยในหลาย ๆ คดี ศาลแห่งประเทศสมาชิกอาจตั้งประเด็นประกอบไปด้วยว่าประเทศ
            สมาชิกสามารถที่จะขยายหรือลดความคุ้มครองให้นอกเหนือไปจากที่ CJEU วินิจฉัยได้หรือไม่
            ซึ่งคําตอบของ CJEU ก็ขึ้นกับแต่กรณี ๆ ไป ดังที่จะเห็นได้จากตัวอย่างคดีที่จะกล่าวต่อไป

                    4.1 กฎหมายลายลักษณ์อักษร
                    กฎหมายลายลักษณ์อักษรท่ว่าน้คือ InfoSoc Directive ซ่งตราขึ้นเมือวันท่ 22 พฤษภาคม
                                            ี
                                               ี
                                                                   ึ
                                                                                  ี
                                                                                             ํ
            ค.ศ. 2001 โดยมีบทบัญญัติที่ว่าด้วยสิทธิแต่เพียงผู้เดียวของเจ้าของลิขสิทธิ์อันได้แก่ การทําซา
                                                                                             ้
            (reproduction right) การเผยแพร่ต่อสาธารณชน  (right of communication to the public)
                                                       17
            การจําหน่าย (distribution right)  สิทธิที่เกี่ยวข้องกับการ linking หรือ framing ซึ่งเป็นปัญหา
                                                       ้
            ในสหภาพยุโรปน้นจะจํากัดอยู่ท่สิทธิในการทําซําและเผยแพร่ต่อสาธารณชน ซ่งต้นแบบของ
                            ั
                                                                                   ึ
                                         ี
            บทบัญญัติดังกล่าวมีที่มาจาก WIPO Copyright Treaty และ Berne Convention ที่สหภาพยุโรป
            มีพันธะกรณีนั่นเอง
                    สําหรับสิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการทําซําน้นบัญญัติอยู่ใน Article 2 มีใจความว่าสิทธ ิ
                                                     ้
                                                        ั
                      ้
                      ํ
            ในการทําซา (reproduction) ไม่ว่าโดยช่วคราวหรือถาวร (temporary or permanent) และไม่
                                               ั
            ว่าโดยวิธีใดหรือในรูปแบบใด (by any means and in any form) เป็นสิทธิแต่เพียงผู้เดียวของ
                    17   หากแปลตามตัวอักษร communication จะแปลได้ว่า การติดต่อ  อย่างไรก็ดี เหตุที่ใช้คําว่า “เผยแพร่” ก็เพราะ
            การติดต่อดังกล่าวต้องกระทําต่อสาธารณชน (public) ซึ่งก็คือการเผยแพร่นั่นเอง การใช้คําดังกล่าวจึงน่าจะเหมาะสมกับบริบท
            และเป็นถ้อยคําที่นักกฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศไทยเข้าใจกัน



                                                                                             177
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184