Page 180 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 180

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                                                                             ี
                         ิ
            เจ้าของลิขสิทธ์ หากสังเกตบทบัญญัติดังกล่าวแล้วจะพบว่ามีความหมายท่กว้างมาก กล่าวคือ
                                                                          ิ
                                                          ้
            ไม่ว่าบุคคลจะทําอะไรก็ตาม หากมีผลเป็นการทําซํางานอันมีลิขสิทธ์แล้วย่อมถือว่าเป็นการ
            ละเมิดทั้งหมด ด้วยเหตุนี้ Article 5 จึงบัญญัติข้อยกเว้นของการละเมิดสิทธิด้วยการบัญญัติไว้
                       ้
            ว่า การทําซาที่มีลักษณะเป็นการชั่วคราว (temporary) ซึ่งมีลักษณะชั่วครู่ (transient) หรือโดย
                       ํ
                      18
            ไม่มีเจตนา  (incidental) และเป็นอันหนึ่งอันเดียวและจําเป็นสําหรับเทคโนโลยี (integral and
            essential part of a technological process) และเป็นไปเพื่อรับส่งข้อมูลระหว่างบุคคลอื่นกับ
            สื่อกลาง (a transmission in a network between third parties by an intermediary) หรือเป็นไป
            เพื่อการใช้ที่ชอบด้วยกฎหมาย (a lawful use) และการกระทํานั้นไม่เกิดผลทางเศรษฐกิจอย่างมี

            นัยยะสําคัญ (no independent economic significance) ให้ถือว่าไม่ละเมิด

                    สําหรับสิทธิในการเผยแพร่ต่อสาธารณชนนั้น Article 3 บัญญัติไว้มีใจความว่าเจ้าของ
            ลิขสิทธิ์มีสิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการอนุญาตหรือห้ามปรามการเผยแพร่ต่อสาธารณชนใด ๆ ซึ่ง
            งานของตนไม่ว่าจะโดยใช้สายหรือโดยไร้สาย (by wire or wireless means) รวมถึงการทําให้

            เข้าถึงได้โดยสาธารณชน (making available to the public) ซึ่งงานโดยมีลักษณะที่สาธารณชน
                                            ี
                                                      ี
            อาจเข้าถึงงานดังกล่าวได้จากสถานท่หรือเวลาท่เลือกได้เอง  อย่างไรก็ดี สําหรับงานบางประเภท
            น้น InfoSoc Directive ก็จํากัดสิทธิของเจ้าของงานไว้เพียงการทําให้เข้าถึงได้โดยสาธารณชน
              ั
            (making available) จากสถานท่และในเวลาท่ผู้ชมเลือกได้เองเท่าน้น เช่น งานแพร่เสียงแพร่ภาพ
                                       ี
                                                                     ั
                                                   ี
            (broadcasts) เป็นต้น ดังที่จะได้เห็นต่อไปในคดี C More Entertainment
                                                              ั
                    สําหรับการตีความบทบัญญัติท่กล่าวไว้ข้างต้นน้น CJEU ได้วินิจฉัยในคดีสําคัญ ๆ
                                               ี
            ดังต่อไปนี้
                    4.2 คดี Svensson
                                    19
                                                                                 ิ
                    จําเลยให้บริการส่ง hyperlink ไปยังเว็บไซต์ข่าวอันเป็นงานมีลิขสิทธ์ของโจทก์ให้แก่
            ผู้ใช้งานของจําเลยโดยไม่ได้รับอนุญาตจากโจทก์ เว็บไซต์ที่มีงานของโจทก์นั้นเป็นเว็บไซต์ข่าวที่

            สามารถเข้าถึงได้โดยบุคคลท่วไปโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย  คดีน้ศาลสูงของกรุงสตอกโฮล์ม ส่งเร่องให้
                                     ั
                                                                                          ื
                                                               ี
            CJEU ตีความว่าการกระทําดังกล่าวเข้าลักษณะการเผยแพร่ต่อสาธารณชนหรือไม่
                                                                   ี
                                           ี
                    CJEU ได้วินิจฉัยปัญหาน้โดยอาศัยหลักกฎหมายท่เกิดจากการตีความบทบัญญัต        ิ
                     ึ
                                       ั
            ดังกล่าวซ่งมีมาหลายคดีแล้วน่นคือ การกระทําจะเป็นการเผยแพร่ต่อสาธารณชนอันเป็นการ

                                                   ั
                    18   คําว่า incidental อาจมีความหมายว่าโดยไม่ต้งใจหรือไม่เจตนาก็ได้ (unintentional) ดู incidental. 2021. In Merriam-
            Webster.com. Retrieved January 2, 2021, from https://www.merriam-webster.com/dictionary/incidental
                    19   Judgment of 13 February 2014, Nils Svensson and Others v Retriever Sverige AB, C-466/12, EU:C :2014:76



            178
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185