Page 184 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 184

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                                                 ํ
                                                                                       ี
                         ิ
                                                 ้
                    หากวเคราะห์นยามของคําว่าทาซาดงกล่าวแล้วจะพบว่า กฎหมายไม่จากดวธการและ
                                 ิ
                                                                                      ิ
                                                                                 ํ
                                               ํ
                                                                                    ั
                                                   ั
                                                                               ํ
            รูปแบบในการคัดลอก เช่นเดียวกับกฎหมายของสหภาพยุโรปท่ให้การทําซา (reproduction)
                                                                               ้
                                                                     ี
            ไม่จํากัดวิธีการและรูปแบบ (by any means and in any form) อย่างไรก็ดี แม้กฎหมายจะ
            ไม่จํากัดวิธีการและรูปแบบก็ตาม แต่ปัญหาของเร่องมีอยู่ว่าการ linking และ framing มีการ
                                                        ื
            คัดลอกเกิดขึ้นหรือไม่
                    หากพิจารณาตามความหมายของคนท่วไปแล้ว การคัดลอก ย่อมหมายความว่ามีงานท        ่ ี
                                                     ั
                                  ึ
                                                  ึ
                                             ิ
            เกิดจากการคัดลอกเกิดข้นมาใหม่อีกช้นหน่งด้วย เช่น การบันทึกแคช (cache) ไว้ในหน่วยบันทึก
                                                                    ํ
              ้
            ขอมูลดังที่ปรากฏในคดี Meltwater หรือการดัดแปลงและบันทึกสาเนาภาพตัวอยาง (thumbnail)
                                                                                  ่
            ที่ปรากฏการทําซาใน server ของผู้ให้บริการ search engine ตามคดี Perfect 10 ที่อาศัยหลัก
                           ้
                           ํ
                                  ้
                                  ํ
            server test ว่ามีการทําซาข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์บน server หรือไม่
                    นอกจากน้ หากพิจารณาถึงเน้อหาของการกระทําแล้ว การ linking อาจจะไม่ใช่การ
                                               ื
                             ี
            คัดลอกโดยตรง เนื่องจากสิ่งที่ทํานั้นมีเพียงการคัดลอกข้อความ “www. ….” ซึ่งสิ่งนี้คือ URL
            ที่เปรียบเสมือนเป็นที่อยู่บนโลกอินเทอร์เน็ต ดังที่ผู้พิพากษาศาลในสหรัฐอเมริกาได้เทียบเคียง
            ให้เห็นตัวอย่างในหลาย ๆ คดีว่า การ linking เปรียบเสมือนการให้วิธีการ (instruction) ในการ
                                              ี
                                ิ
            เข้าถึงงานอันมีลิขสิทธ์ เช่นเดียวกับท่ห้องสมุดมีหมายเลขสารบรรณประจําหนังสือท่มีลิขสิทธ ิ ์
                                                                                       ี
            ในแต่ละเล่ม ลําพังการมอบหมายเลขสารบรรณหนังสือดังกล่าวให้แก่ผู้ใช้บริการห้องสมุดทราบ
            ก็ไม่น่าจะเป็นการกระทําถึงขนาดคัดลอกงานอันมีลิขสิทธิ์ สําหรับการ framing แม้จะทําให้งาน
            อันมีลิขสิทธิ์มาปรากฏบน page ของผู้กระทําโดยตรง หากพิจารณาเพียงแต่ผลของการกระทํา
                                ็
                                          ิ
                                                                                       ึ
               ี
            เพยงอย่างเดยวแล้ว กอาจทําให้คดไปได้ว่าเป็นการทําซาเพราะทาให้เกดสําเนางานข้นอกแห่ง
                                                                                          ี
                                                                           ิ
                                                             ้
                        ี
                                                                      ํ
                                                             ํ
            หนึ่งบน page ของผู้กระทํา แต่หากพิจารณาเนื้อหาของการ framing แล้วจะพบว่าไม่แตกต่าง
                                           ้
            จากการ linking เพราะไม่มีการทําซาข้อมูลลงใน server
                                           ํ
                                                                                            ิ
                                                                          ี
                             ั
                     ิ
                    ย่งไปกว่าน้น ไม่ว่าจะเป็นการ linking หรือ framing ข้อมูลท่เป็นงานอันมีลิขสิทธ์ถูก
                                                      ิ
                        ี
            บันทึกไว้อยู่ท่เดียวคือ server ของเจ้าของลิขสิทธ์ และจะไม่มีสําเนาเกิดข้นได้เลยหากไม่มีผู้ใช้งาน
                                                                          ึ
            (end users) เข้าชมเว็บไซต์ผ่าน internet browser ดังน้น หากจะกล่าวว่าบุคคลใดเป็นผู้ทําซํางานแล้ว
                                                                                       ้
                                                        ั
            ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตดังกล่าวน่าจะใกล้เคียงกับการทําซามากกว่าผู้ linking หรือ framing เสียอีก
                                                            ้
                                                            ํ
            เพราะเกิดสําเนาของงานบนหน้าจอแสดงผล (onscreen copy) และแคช (cache)
                                                                                  24
                    24   ดังที่เคยเป็นปัญหาในคดี Meltwater ที่ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต (end user) ถูกฟ้องว่าการเข้าเว็บไซต์เป็นการละเมิด
               ิ
            ลขสทธเพราะมีการทาซาให้ปรากฏบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ (onscreen copy) และบนทึกข้อมลแคช (cache) ซงศาล CJEU
                                                                                      ึ
             ิ
                                                                                      ่
                          ํ
                                                                    ั
                            ้
                            ํ
                 ิ
                                                                           ู
                 ์
                               ํ
                               ้
                                                                                       ิ
            วินิจฉัยว่าแม้จะเป็นการทําซาแต่เข้าข้อยกเว้นของ Article 5(1) อันแสดงให้เห็นว่าผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตไม่ละเมิดลิขสิทธ์แม้จะมีการ
               ้
               ํ
            ทําซาบนหน้าจอของผู้ใช้งานก็ตาม. Judgment of 5 June 2014, Public Relations Consultants Association Ltd v Newspaper
            Licensing Agency Ltd and Others, C-360/13, EU:C:2014:1195
            182
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189