Page 181 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 181

ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564




                                                                                  ึ
                            ั
            ละเมิดลิขสิทธิ์ได้น้น ต้องเป็นการเผยแพร่ต่อสาธารณชนกลุ่มใหม่ (new public) ซ่งมีความหมาย
            ว่าเป็นสาธารณชนท่อยู่นอกเหนือความคาดหมายของเจ้าของงานอันมีลิขสิทธ์  อันเป็น
                                ี
                                                                                      ิ
            หลักกฎหมายที่ CJEU ใช้ในการตีความเรื่อยมาโดยไม่จํากัดเฉพาะการกระทําที่เป็นการ linking
            หรือ framing เท่านั้น  ซึ่งศาล CJEU ในคดีนี้นั้นวินิจฉัยไว้ว่าในกรณีนี้ไม่มีสาธารณชนกลุ่มใหม่
                              20
                                                                   ี
                 ึ
            เกิดข้น เพราะเว็บไซต์ของโจทก์เปิดให้บริการแก่บุคคลทุกคนท่มีอินเทอร์เน็ตโดยไม่มีค่าใช้จ่าย
            และไม่มีข้อสงวนหรือข้อจํากัดสิทธิในการใช้งานเว็บไซต์ของโจทก์เอง สาธารณชนกลุ่มที่จําเลย
            ส่ง hyperlink ให้นั้นก็เป็นสาธารณชนกลุ่มเดียวกันที่มีอินเทอร์เน็ตใช้ การกระทําของจําเลยจึง
            ไม่ใช่การเผยแพร่ต่อสาธารณชน

                          ี
                    ในคดีน้ศาลสูงแห่งกรุงสตอกโฮล์มได้ต้งประเด็นด้วยว่าประเทศสมาชิกอาจขยายความ
                                                     ั
            คุ้มครองเจ้าของงานอันมีลิขสิทธิ์ในกรณีนี้ได้หรือไม่ ซึ่งศาล CJEU ปฏิเสธไม่ให้ประเทศสมาชิก
            ขยายความคําว่า communication to the public ให้รวมถึงกรณีดังกล่าวเพราะจะทําให้เกิด
            ความลักหลั่นระหว่างกฎหมายภายในของประเทศสมาชิกด้วยกัน

                    4.3 คดี C More Entertainment
                                                 21
                    ข้อเท็จจริงในคดีนี้คล้ายคลึงกับคดี Svensson แต่แตกต่างกันตรงที่ว่าเจ้าของงานอันมี
                                                             ั
                             ั
                    ั
                   ิ
            ลิขสิทธ์น้นได้หวงก้นการเข้าถึงงานของตนโดยให้บุคคลท่วไปต้องชําระเงินก่อน (paywall) จึงจะม ี
            สิทธิ์เข้าชมงานอันมีลิขสิทธิ์ ซึ่งงานอันมีลิขสิทธิ์นี้คืองานแพร่เสียงแพร่ภาพ (broadcasting) การ
            แข่งขันฮอกกี้ คดีนี้ศาล CJEU วินิจฉัยว่าสิทธิในการเผยแพร่ต่อสาธารณชน (communication to
            the public) ตาม Article 3 paragraph 1 ไม่รวมถึงงานแพร่เสียงแพร่ภาพ เพราะมีบทบัญญัติ

            เฉพาะใน Article 3 paragraph 2 ให้งานดังกล่าวมีเฉพาะสิทธิในการทําให้ปรากฏต่อสาธารณชนใน
                                      ้
                                                ่
                                                ี
                                                                       ึ
                                                                       ่
                                                             ื
                                                           ี
                                                           ่
                                                                                          ่
                     ี
                     ่
                                                                         ี
            ลกษณะทสาธารณชนเขาถงไดจากสถานทและในเวลาทเลอกได้เอง ซงมความหมายแคบกวาสทธ             ิ
                                                                                            ิ
                                   ึ
                                 ้
              ั
                                         ื
            ในการเผยแพร่ต่อสาธารณชน  เม่องานแพร่เสียงแพร่ภาพในคดีนี้มีลักษณะเป็นการถ่ายทอดสด
                                             ี
            ไม่ใช่ลักษณะการเข้าถึงได้จากสถานท่และเวลาท่เลือกได้เอง ประกอบกับ Article 3 paragraph 2
                                                      ี
            มีเจตนารมณ์ที่จะจํากัดเฉพาะการกระทําที่เป็น interactive on-demand transmission เท่านั้น
            การกระทําของจําเลยจึงไม่ละเมิดสิทธิในการเผยแพร่ต่อสาธารณชน
                    อย่างไรก็ดี แม้บทบัญญัติของ InfoSoc Directive จะไม่กําหนดให้การกระทําของจําเลย
            เป็นการละเมิดก็ตาม  แต่ CJEU ได้เปิดโอกาสให้ประเทศสมาชิกมีอิสระที่จะใช้กฎหมายภายใน
                    20   Judgement of 4 October 2011, Football Association Premier League Ltd and Others v QC Leisure and
            Others C-403/08, EU:C:2011:631
                    21   Judgment of 26 March 2015, C More Entertainment AB v Linus Sandberg, C-279/13, EU:C:2015:199
                                                                                             179
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186