Page 197 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 197
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
การรับฟังพยานแวดล้อมในความผิดการตกลงร่วมกัน
(Hardcore Cartels) ในบริบทของประเทศญี่ปุ่น อินโดนีเซีย และเกาหลีใต้
ดร.เบญจวรรณ ตั้งสถาพรพันธ์*
บทน�า
ั
ความผิดการตกลงร่วมกันน้นในทางปฏิบัติมักเกิดประเด็นปัญหาสําคัญในเร่องการ
ื
แสวงหาพยานหลักฐานมาเพ่อพิสูจน์ความผิดท้งในช้นสืบสวนสอบสวนและช้นพิจารณา สาเหตุ
ั
ั
ื
ั
เน่องมากจากพยานหลักฐานโดยตรง (Direct evidence) จะอยู่ในความครอบครองหรือความรู้เห็น
ื
ิ
ของผู้ร่วมกระทําความผิดเป็นหลัก อีกท้งในประเทศท่เพ่งเร่มบังคับใช้กฎหมายแข่งขันทางการ
ี
ั
ิ
่
ื
ื
่
ค้าได้ไม่นานอาจประสบปัญหาเรองการเสาะหาพยานหลกฐานโดยตรงเนองจากขาดมาตรการ
ั
ึ
ลดหย่อนโทษ (leniency program) ซ่งถือเป็นมาตรการสําคัญท่ช่วยในการเสาะแสวงหาพยาน
ี
ี
หลักฐานโดยตรงในความผิดตกลงร่วมกัน โดยในประเทศท่ปราศจากการบังคับใช้กฎหมายแข่งขัน
ทางการค้าอย่างเข้มงวดคณะกรรมการแข่งขันทางการค้าอาจประสบปัญหาในทางปฏิบัติท่จะได้
ี
ี
รับความร่วมมือจากผู้ร่วมกระทําความผิดในการให้ข้อมูลหรือพยานหลักฐานท่ใช้ในการพิสูจน์
การกระทําความผิดดังน้นจําต้องอาศัยการพิสูจน์พยานแวดล้อมเป็นสําคัญ บทความฉบับน ้ ี
ั
ี
ี
ผู้เขียนมุ่งเน้นท่จะตอบคําถามท่ว่า “พยานแวดล้อมสามารถใช้พิสูจน์ความผิดในคดีความผิด
การตกลงร่วมกัน (hardcore cartel) โดยลําพังหรือรับฟังประกอบพยานหลักฐานอื่นได้หรือไม่”
โดยจะพิเคราะห์หลักเกณฑ์การรับฟังพยานแวดล้อมแนวการรับฟังพยานแวดล้อมในคด ี
ความผิดการตกลงร่วมกันของศาลประเทศญี่ปุ่น อินโดนีเซีย และเกาหลีใต้ ซึ่งได้วางหลักเกณฑ์
และให้เหตุผลไว้ประกอบ พร้อมท้งวิเคราะห์คําตัดสินดังกล่าวโดยผู้เขียน อีกท้งเสนอแนวทาง
ั
ั
ท่เหมาะสมในการรับฟังพยานหลักฐานในคดีความผิดการตกลงร่วมกันและเคร่องมือท่ช่วย
ี
ื
ี
ในการแสวงหาพยานหลักฐานเพ่อท่จะตอบรับกับความผิดการตกลงร่วมกันท่เกิดข้นจาก
ึ
ี
ื
ี
เทคโนโลยีใหม่ๆ ซ่งพยานหลักฐานโดยตรงน้นหาได้ยากย่งในทางปฏิบัติ อาทิเช่น การตกลง
ั
ิ
ึ
ร่วมกันที่เกิดจากการประมวลผลของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) เป็นต้น
ค�าส�าคัญ : กฎหมายการแข่งขันทางการค้า ความผิดการตกลงร่วมกัน พยานแวดล้อม
พยานทางเศรษฐศาสตร์
* ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นประจํากองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ ; อดีตผู้อํานวยการบริหาร สถาบัน
อนุญาโตตุลาการ สํานักงานศาลยุติธรรม
195