Page 199 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 199

ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564




            พยานหลักฐานอ่นได้หรือไม่” โดยจะพิเคราะห์หลักเกณฑ์การรับฟังพยานแวดล้อมแนวการรับฟัง
                           ื
            พยานแวดลอมในคดีความผิดการตกลงรวมกันของศาลประเทศญี่ปุน อินโดนีเซีย และเกาหลีใต      ้
                                                                       ่
                                               ่
                       ้
                                                           ั
                                                                          ี
            ซ่งได้วางหลักเกณฑ์และให้เหตุผลไว้ประกอบ อีกท้งเสนอแนวทางท่เหมาะสมในการรับฟัง
              ึ
                                                               ื
                                                                       ี
            พยานหลักฐานในคดีความผิดการตกลงร่วมกันและเคร่องมือท่ช่วยในการแสวงหาพยาน
                                                                      ึ
                          ี
                                                                                             ึ
                       ื
                                                                 ี
            หลักฐานเพ่อท่จะตอบรับกับความผิดการตกลงร่วมกันท่เกิดข้นจากเทคโนโลยีใหม่ๆ  ซ่ง
                                             ิ
            พยานหลักฐานโดยตรงน้นหาได้ยากย่งในทางปฏิบัติ อาทิเช่น การตกลงร่วมกันท่เกิดจากการ
                                                                                    ี
                                  ั
            ประมวลผลของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) เป็นต้น
            2.  ประเภทของพยานแวดล้อมเพื่อพิสูจน์ความผิดการตกลงร่วมกัน
                    การพิสูจน์ความผิดการตกลงร่วมกันนั้นพยานหลักฐานโดยตรง อาทิเช่น ข้อความของ
            สัญญาที่มีการตกลงร่วมกัน บันทึกการประชุม (Maurice Guerrin และ Georgios Kyriazis, 2535)
                                               ิ
                                                         ู
                                        ึ
                                                                            ี
                                                                               ุ
                               ั
                                                                              ี
              ั
                 ึ
                                                                         ิ
            บนทกเสยงทางโทรศพท์ บันทกการเดนทางของผ้ร่วมกระทาความผดทมจดหมายปลายทาง
                    ี
                                                                  ํ
                                                                            ่
            เดียวกัน บันทึกการเข้าร่วมประชุมทางธุรกิจของผู้ร่วมกระทําความผิด (OECD, 2550) พยาน
            บุคคลที่รู้เห็นการทําสัญญา ฯลฯ (U.S. Department of Justice, 2559) มักหาได้ยากยิ่งในทาง
            ปฏิบัติ เว้นแต่จะได้รับความร่วมมือจากผู้กระทําความผิดหรือโดยอาศัยมาตรการยกเว้นหรือ
                                                 ั
            ลดหย่อนโทษ (leniency program) ดังน้นพยานแวดล้อม(Circumstantial evidence)จึงทว
                                                                                              ี
            ความสําคัญในการพิสูจน์ความรับผิดในคดีความผิดการตกลงร่วมกันในนานาประเทศ (OECD,
                                                                   ั
                                                                      ้
                                                                      ั
                       ้
                    ้
                    ั
            2549) ทงนพยานแวดล้อมเพ่อพิสูจน์ความผิดการตกลงร่วมกนนนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
                                       ื
                       ี
            กล่าวคือ
                    2.1 “พยานหลักฐานในการสื่อสารระหว่างกันของผู้ร่วมกระทําความผิด” เช่น เอกสาร
            ภายในซึ่งแสดงถึงกลยุทธ์ด้านราคาของคู่แข่งทางการค้า ฯลฯ
                    2.2 “พยานหลักฐานทางเศรษฐศาสตร์” แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท กล่าวคือ พยานทาง
            เศรษฐศาสตร์ด้านการกระทํา (conduct evidences) และพยานทางเศรษฐศาสตร์ด้านโครงสร้าง
            (structural economic evidence)
                    ก. พยานทางเศรษฐศาสตร์ท่บ่งถึงการกระทํา อาทิเช่น พยานหลักฐานท่แสดงถึง
                                              ี
                                                                                       ี
                                                                                    ึ
                                                 ี
                       ี
            การกระทําท่คล้ายคลึงกันของกลุ่มบุคคลท่ได้มีการตกลงร่วมกัน เช่น การปรับราคาข้นในลักษณะ
            ท่ใกล้เคียงกัน (parallel pricing) ; พยานหลักฐานเก่ยวกับผลการดําเนินงานของหน่วยผลิต
              ี
                                                            ี
                                                                                              ี
                                                                 ี
            และอุตสาหกรรม (industrial performance) เช่น ผลกําไรท่สูงเกินควร, ส่วนแบ่งตลาดท่คงท่,
                                                                                          ี
            ประวัติการกระทําความผิดกฎหมายการแข่งขันทางการค้า เป็นต้น ; พยานหลักฐานที่ส่งเสริม
                                                                                             197
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204