Page 200 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 200

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                                                             ี
            การตกลงกัน (facilitating practice) เช่น การแลกเปล่ยนข้อมูล, การส่งสัญญานทางราคา,
            การกําหนดคุณภาพสินค้า เป็นต้น

                                                                               ี
                                                                                   ี
                                                              ึ
                    ข. พยานทางเศรษฐศาสตร์ท่บ่งถึงโครงสร้าง ซ่งรวมไปถึงปัจจัยท่บ่งช้ในด้านต่างๆ
                                              ี
                                                                                     ่
            อาทิเช่น การกระจุกตัวของตลาด (market concentration), อัตราการกระจุกตัวตําของตลาด
            อีกฝั่งหนึ่ง, การรวมตัวกันของคู่ค้าในแนวดิ่งซึ่งมีแนวโน้มสูง, อุปสรรคในการเข้าสู่อุตสาหกรรม
            ที่สูง (High barrier you entry) ฯลฯ (ICN, 2557)

                                                                        ี
            3.  หลักเกณฑ์การรับฟังพยานแวดล้อมของไทยในคดีท่มีความผิดทางอาญา
            โดยสังเขป


                    ความผิดการตกลงร่วมกันตามพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2560
            มาตรา 54 นั้นมีโทษทางอาญากล่าวคือโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินร้อยละสิบของ
                                          ั
                       ี
                                               ั
                                                                   ึ
            รายได้ในปีท่กระทําความผิด หรือท้งจําท้งปรับ ตามมาตรา 72 ซ่งจําต้องพิจารณาหลักเกณฑ์การ
            รับฟังพยานแวดล้อมในคดีอาญาโดยเทียบเคียงได้กับบทตัดพยานบอกเล่า ตาม ป.วิ.อ. มาตรา
            226/3 ซ่งกําหนด “ห้ามมิให้ศาลรับฟังพยานบอกเล่า” เว้นแต่จะเข้าข้อยกเว้นตาม มาตรา 226/3
                    ึ
            วรรคสอง (1) หรือ (2) ตามแต่กรณี
                                                                          ั
                        ี
                     ั
                    ท้งน้บทบัญญัติกฎหมายรวมถึงแนวคําตัดสินของศาลฎีกาน้นวางหลักให้ศาลรับฟัง
                                                                                 ั
                                                                ื
            พยานหลักฐานดังกล่าวด้วยความระมัดระวังและไม่ควรเช่อพยานหลักฐานน้นโดยลําพังเพ่อ
                                                                                             ื
                                                                                             ื
            ลงโทษจําเลยเว้นแต่จะมีเหตุผลอันหนักแน่น มีพฤติการณ์พิเศษแห่งคดี หรือมีพยานหลักฐานอ่น
            มาสนับสนุน ตาม ป.วิ.อ มาตรา 227/1 ซึ่งศาลในคดีอาญารับฟังพยานดังกล่าวโดยเคร่งครัด
                                                             ั
                                                                  ้
            โดยให้เหตุผลว่าพยานบอกเล่าหรือพยานแวดล้อมกรณีน้นมีนาหนักให้รับฟังได้น้อย ไม่เพียงพอ
                                                                  ํ
            ที่ศาลจะรับฟังโดยลําพังเพื่อลงโทษจําเลยในคดีอาญาแต่อาจรับฟังประกอบพยานหลักฐานอื่น
            ของโจทก์ได้ (คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 2915/2554, 3225/2557, 15833/2557) ทั้งนี้ หลักเกณฑ์
            การรับฟังพยานบอกเล่าและพยานแวดล้อมกรณีของไทยน้นแตกต่างจากศาลในระบบ
                                                                    ั
                                                ้
                                                ํ
                          ี
            คอมมอนลอว์ท่ไม่ถือว่าพยานบอกเล่ามีนาหนักน้อยเสมอไป อาทิเช่น บักทึกทางธุรกิจของบริษัท
            (business record) ฯลฯ โดยหากเข้าข้อยกเว้นถือเป็นพยานหลักฐานที่ศาลต้องรับฟัง (พรเพชร
            วิชิตชลชัย, 2542)
                    อย่างไรก็ตาม กรณีเข้าข้อยกเว้นให้รับฟังพยานบอกเล่าตาม ป.วิ.อ.มาตรา 226/3

            วรรคสอง  อาทิเช่น  กรณีมีเหตุจําเป็นท่ให้โจทก์ไม่สามารถนําประจักษ์พยานหรือพยาน
                                                  ี
                                                                                          ํ
               ั
            หลกฐานโดยตรงมานาสบต่อศาลได้น้น โจทก์คือคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้าจาต้อง
                                  ื
                                              ั
                               ํ
            198
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205