Page 221 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 221
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
ปัญหาภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
สุวัฒน์ ไวยุพัฒนธี *
ดร.ธนสร สุทธิบดี **
ิ
ี
ตามท่พระราชบัญญัติภาษีท่ดินและส่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 มีผลใช้บังคับเม่อวันท ่ ี
ื
ี
1
ิ
ี
13 มีนาคม 2562 และกําหนดให้การจัดเก็บภาษีสําหรับท่ดินและส่งปลูกสร้างมีผลใช้บังคับ
ต้งแต่วันท่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 โดยมีหลักการและเหตุผลในการประกาศใช้กฎหมาย
ี
2
ั
ฉบับน้ว่า การจัดเก็บภาษีตามพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและท่ดิน พ.ศ. 2475 และพระราชบัญญัติ
ี
ี
ภาษีบํารุงท้องท่ พ.ศ. 2508 มีการบังคับใช้มาเป็นเวลานานและไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์
ี
ั
ในปัจจุบัน จึงให้ยกเลิกกฎหมายท้งสองฉบับดังกล่าวและใช้พระราชบัญญัติภาษีท่ดินและ
ี
สิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 แทน
ี
อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากท่มีการจัดเก็บภาษีตามพระราชบัญญัติภาษีท่ดินและ
ี
ส่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 แล้ว ยังปรากฏข้อสังเกตเก่ยวกับลักษณะการจัดเก็บภาษีตาม
ี
ิ
ี
ี
พระราชบัญญัติดังกล่าวอยู่เป็นอันมาก บทความน้จึงมีวัตถุประสงค์ท่จะพิจารณาถึงหลักแนวคิด
ทฤษฎีทางภาษี เปรียบกับสาระสําคัญและรูปแบบการจัดเก็บภาษีของพระราชบัญญัติภาษีที่ดิน
และส่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 เพ่อวิเคราะห์ถึงปัญหาอันเกิดจากการบังคับใช้ของพระราชบัญญัต ิ
ิ
ื
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 อันจะนําไปสู่การพัฒนากฎหมายฉบับนี้ต่อไป
1. แนวคิด ทฤษฎี และพื้นฐานของการจัดเก็บภาษี
ื
ี
ื
เม่อรัฐมีค่าใช้จ่ายท่เพ่มสูงข้น รัฐจึงมีความจําเป็นต้องหารายได้เพ่อให้เพียงพอต่อ
ิ
ึ
ี
ค่าใช้จ่าย จึงเป็นท่มาของการออกกฎหมายภาษีเพ่อเรียกเก็บภาษีให้รายได้ท่เพียงพอต่อ
ื
ี
ความต้องการของรัฐ ซ่งในปัจจุบันอาจมีข้อโต้แย้งว่า กฎหมายบางฉบับอาจเน้นไปท่ผลสัมฤทธ ิ ์
ึ
ี
* รองประธานศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ (แผนกคดีภาษีอากร)
** ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นประจํากองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ (แผนกคดีภาษีอากร)
ี
ั
1 มาตรา 2 พระราชบัญญัติน้ให้ใช้บังคับต้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไปประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136/ตอนที่ 30 ก/หน้า 21/12 มีนาคม 2562
2 มาตรา 2
219