Page 225 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 225

ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564




                                                             ี
                                                 ี
                          ี
            คําจํากัดความท่ก่อให้เกิดความเท่าเทียมน้เป็นการยากท่จะไม่มีข้อโต้แย้ง เช่น ในส่วนของบุคคล
            ที่อยู่ในสภาพการณ์เดียวกันนั้น หากพิจารณาจากฐานของรายได้ของบุคคล อาจมีข้อโต้แย้งว่า
                                                                                            ี
                                                           ึ
            สมควรท่จะพิจารณาจากรายได้ของบุคคลท่ได้รับในหน่งปี หรือพิจารณาจากมูลค่าทรัพย์สินท่ถือ
                                                  ี
                    ี
            ครองทั้งหมดว่ามีจํานวนเท่าใด ดังนั้น นักกฎหมายบางท่านจึงให้ความเห็นว่า แม้หลักการที่ว่า
            ภาระทางภาษีสมควรท่จะมีความเท่าเทียมและยุติธรรม แต่หลักการดังกล่าวไม่ได้ก่อให้เกิดความ
                                ี
            เท่าเทียมและยุติธรรมแต่อย่างใด  เช่น หากจะให้บุคคลซึ่งมีรายได้เท่าเทียมกัน แต่อาศัยที่อยู่
                                         13
                   ี
                ื
                                                                                        ื
                     ี
            ในพ้นท่ท่มีค่าครองชีพสูงกว่าหรือมีสภาพร่างกายท่ต้องเข้ารับการรักษาพยาบาลต่อเน่องและ
                                                          ี
                                                                       ่
                                                                        ่
                                                                       ี
                                                       ุ
                                              ี
                                                             ่
                                                             ี
                                                                    ื
                               ั
                                                                ู
                                                                    ้
              ี
                                                                          ี
            มค่าใช้จ่ายมาก ได้รบการยกเว้นภาษมากกว่าบคคลทอย่ในพนททมค่าครองชพตากว่าหรือ
                                                                                   ี
                                                                                      ํ
                                                                                      ่
                                                                        ี
            ไม่มีค่ารักษาพยาบาลต่อเนื่อง ถือว่ามีความเท่าเทียมกันหรือไม่
                    1.2  วัตถุประสงค์ของการจัดเก็บภาษี
                    ตามประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา วัตถุประสงค์ที่สําคัญที่สุดของการจัดเก็บภาษี คือ การเป็น
            รายได้ของรัฐ  เพื่อให้รัฐนํามาเป็นค่าใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น การ
                        14
                            ื
            จัดหาโครงสร้างพ้นฐาน การให้สวัสดิการแก่ประชากร การรักษาความสงบเรียบร้อยและความ
            ยุติธรรม รวมถึงการบริหารจัดการอื่น ๆ อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์ของภาษีไม่ใช่มีแต่เพียงเป็น
            รายได้ของรัฐเท่าน้น ภาษีอาจนํามาใช้ในลักษณะอ่น ๆ ได้อีกด้วย เช่น การใช้ภาษีเพ่อการควบคุม
                                                       ื
                            ั
                                                                                   ื
            การใช้ภาษีเพื่อการกระจายรายได้ และการใช้ภาษีเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม
                    สําหรับการใช้ภาษีเพื่อการควบคุม มีแนวคิดว่า กิจกรรม พฤติกรรม หรือการบริโภคบาง
            ประเภท อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อบุคคล ต่อรัฐ หรือต่อสังคมเป็นส่วนรวม การจัดเก็บภาษีจะ
            ทําให้กิจกรรมหรือการบริโภคเหล่านี้มีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลเป็นการควบคุมไปโดยปริยาย
            ตัวอย่างสินค้าที่มีการจัดเก็บภาษีเหล่านี้ได้แก่ สินค้าที่ไม่มีความจําเป็นต่อการดํารงชีวิต สินค้า
                                                                      ่
                                                                      ี
                                                                                   ื
                                                                               ื
                          ิ
                                                                                   ่
                             ้
            ฟ่มเฟือย หรอสนคาท่อาจทาให้เกดโทษต่อร่างกาย เช่น ยาสูบ บุหร เหล้า เคร่องดมแอลกอฮอล  ์
              ุ
                       ื
                                          ิ
                                    ํ
                               ี
                                                                   ื
                                                                                ี
                    อย่างไรก็ตาม นักกฎหมายบางท่านเห็นว่า การใช้ภาษีเพ่อการควบคุมน้ไม่สมควรนํามาใช้
            กับภาษีทรัพย์สิน อย่างเช่น ภาษีท่ดิน เพราะหากมีการจัดเก็บภาษีจากทรัพย์สินโดยมีแนวคิด
                                           ี
            ว่าไม่ต้องการให้มีการปล่อยให้ท่ดินว่างเปล่า แม้ว่าอาจเป็นการใช้ภาษีโดยมีวัตถุประสงค์ในการ
                                        ี
            ควบคุม แต่ภาษีน้นจะส่งผลกระทบทางอ้อมคือการทําให้ระบบเศรษฐกิจฝืดเคือง ประชาชนม      ี
                            ั


                    13   John Tiley and Glen Loutzenhiser, Revenue Law: Introduction to UK Tax Law, section 1.3.2.
                    14   Steuerle Eugene, Contemporary U.S. Tax Policy, Second Edition, p. 20.
                                                                                             223
   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230