Page 229 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 229

ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564




                               23
            เช่น ภาษีสรรพสามิต  โดย International Monetary Fund (IMF) ได้ให้คําแนะนําไว้ว่าภาษ  ี
            สรรพสามิตสมควรที่จะจัดเก็บจากการบริโภคสินค้าห้าประเภท คือ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่
                     ้
                     ํ
            รถยนต์ นามันเชื้อเพลิง และอะไหล่รถยนต์เท่านั้น  เพราะหากมีการจัดเก็บกับสินค้าประเภท
                                                         24
            อื่น ๆ ตามแต่ที่แต่ละรัฐจะจัดเก็บ จะส่งผลกระทบเรื่องความเป็นกลาง (Neutrality) ของภาษี
            และอาจมีลักษณะเป็นการกีดกันทางการค้า ทั้งนี้ แนวคิดเกี่ยวกับภาษีสรรพสามิตถือได้ว่าเป็น
                        ่
                                                ิ
                                                ่
                          ี
                        ี
                                                                   ั
                                                                                        ุ
             ู
                                                    ึ
                                                    ้
                                                            ั
                       ี
                                                   ี
            รปแบบภาษทมความเก่าแก่มากเพราะเรมมขนพร้อมกบการพฒนาอารายธรรมของมนษย์ ใน
            ขณะที่การเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มได้รับการยอมรับและใช้งานเมื่อประมาณ 60 ปีที่ผ่านมาเท่านั้น 25
                    แม้ว่าภาษีการบริโภคจะมีความแตกต่างกับฐานภาษีรายได้ แต่นักกฎหมายที่สนับสนุน
            แนวคิดการจัดเก็บภาษีจากการบริโภคก็ให้เหตุผลว่า หากพิจารณาผลรวมภาษีทั้งหมดที่จะต้อง
            เสียแล้ว การจัดเก็บภาษีการบริโภคจะทําให้เกิดความเท่าเทียมในแนวนอนเมื่อพิจารณาถึง
            พฤติกรรมของบุคคลประกอบ
                                                  ่
                                                    ี
                                                  ี
                                                                  ั
                                                              ั
                                                                                   ี
                                                                                     ิ
                    ตวอย่างเช่น หากมีบุคคลสองคนทมรายได้เท่ากน ท้งสองคนจะเสยภาษเงนได้เท่ากัน
                                                                              ี
                     ั
            ในตอนต้น แต่เนื่องจากพฤติกรรมการใช้เงินที่แตกต่างกัน คนที่หนึ่งเก็บเงิน และนําเงินไปฝาก
                                                                                       ี
                                               ิ
                                                                                          ี
            ธนาคาร บุคคลน้จะเสียภาษีให้แก่รัฐเพ่มเติมในภายหลัง จากผลตอบแทนของดอกเบ้ยท่ได้รับ
                            ี
            และรัฐก็จะได้รับภาษีต่อไปเรื่อย ๆ ตราบที่ยังมีการฝากเงินไว้ ในทางตรงกันข้าม หากคนที่สอง
            ไม่เก็บเงิน และใช้เงินทั้งหมด คนที่สองก็จะไม่ต้องเสียภาษีใด ๆ ให้แก่รัฐเพิ่มเติมอีก นอกจาก
                                                                                             26
            ภาษีเงินได้ในตอนต้นเท่าน้น ดังน้น การเก็บภาษีจากการบริโภคจึงทําให้เกิดความเท่าเทียมกัน
                                    ั
                                         ั
                                                           ิ
                                                             ึ
            และทําให้รัฐได้ประโยชน์เน่องจากมีรายได้เพ่มมากย่งข้น โดยตัวอย่างน้เห็นได้จากการศึกษา
                                     ื
                                                    ิ
                                                                            ี
            กลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก OECD  พบว่า การจัดเก็บภาษีฐานการบริโภคทําให้รัฐมีรายได้เพิ่ม
                                          27
                                                                                           28
            ขึ้นอย่างมากถึง 31% ของจํานวนภาษีที่เก็บได้ทั้งหมด โดยมีภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นส่วนสําคัญ
                                                                      ่
                                                                        ็
                                                                               ิ
                                                            ุ
                                                            ่
                                                                                             ่
                                                                      ี
                                      ั
                                         ็
                                ึ
                    หากพจารณาถงการจดเกบภาษมลคาเพมในกลมประเทศทเปนสมาชก OECD จะพบวา
                         ิ
                                               ี
                                                      ิ
                                                      ่
                                                ู
                                                   ่
                                                                                        ี
                                                          ื
            ภาษีมูลค่าเพ่มสอดคล้องกับหลักแนวคิดทางภาษีเร่องความเป็นกลาง (Neutrality) ท่ว่าภาษ
                                                                                              ี
                        ิ
                    23   OECD, Addressing the Tax Challenges of the Digital Economy, p. 21.
                    24   Parthasarathi Shome, Tax Policy Handbook, p. 132.
                    25   OECD, Consumption Tax Trends 2014 VAT/GST and excise rates, trends and policy (Paris: OECD
            Publishing, 2014), p.14.
                    26   Steuerle Eugene, Contemporary U.S. Tax Policy, Second Edition, p. 22.
                    27   The Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD) ปัจจุบันมีสมาชิกท้งหมด 37 ประเทศ
                                                                                   ั
            เช่นประเทศ Australia, Canada, France, Germany, Italy, Japan, Korea, Mexico, the Netherlands, New Zealand, Norway,
            Spain, Sweden, Switzerland, the United Kingdom และ the United States of America สําหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู https://
            www.oecd.org/about/
                    28   OECD, Consumption Tax Trends 2014 VAT/GST and Excise Rates, Trends and Policy, pp. 14-16.
                                                                                             227
   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234