Page 231 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 231
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
การคิดภาษีจากความมั่งคั่งจะกระทําใน 2 รูปแบบ คือ ภาษีที่มีการคิดจากความมั่งคั่ง
เป็นช่วง ๆ (Periodically) จากความมั่งคั่งสุทธิของบุคคลในช่วงเวลานั้น และ ภาษีที่คิดจากการ
โอนถ่าย (Transfer) ความมั่งคั่งจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง โดยตัวอย่างของภาษีที่มีการ
ั
ี
ิ
ิ
ี
ั
คิดจากความม่งค่งเป็นช่วง ๆ เช่น ภาษีท่ดนและส่งปลูกสร้าง ในขณะท่ตัวอย่างของภาษีการโอน
34
ถ่ายความมั่งคั่ง จะเป็นภาษีที่มีการคิดจากการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินไปให้อีกบุคคลหนึ่ง
ึ
้
ี
้
่
ั
ี
ี
ี
่
็
ึ
่
่
ั
ั
ื
่
ทงน ปัญหาประการหนงของฐานภาษความมงคง คอ การหลบเลยงภาษ ซงเหนได้
จากการท่ในช่วงปี 1990 ประเทศพัฒนาแล้วประมาณคร่งหน่งมีการบังคับใช้ภาษีความม่งค่ง
ึ
ั
ั
ึ
ี
ี
ั
ี
แต่ต่อมาในปี ค.ศ. 2018 มีเพียงสามประเทศเท่าน้นท่ยังมีการจัดเก็บภาษีลักษณะน้อยู่
35
ั
ั
ึ
ี
ื
เน่องจากเม่อมีการจัดเก็บภาษีจากความม่งค่ง ผู้เสียภาษีจํานวนหน่งจะหลบเล่ยงภาษีด้วย
ื
ี
ื
การโอนย้ายสินทรัพย์ไปลงทุนในต่างประเทศ หรือไปถือครองสินทรัพย์ประเภทอ่น ๆ ท่ยากต่อ
36
การตรวจสอบ เช่น อัญมณี ภาพวาด หรือของมีค่าอย่างอื่น เพื่อไม่ให้ตนต้องเสียภาษี
นอกจากนี้ ปัญหาอีกประการหนึ่งของฐานภาษีความมั่งคั่ง คือ การที่ผู้เสียภาษีเกรงว่า
ิ
ตนจะต้องเสียภาษีหากมีเงินเก็บมาก จึงหาทางใช้จ่ายเพ่อลดภาษีท่จะต้องเสียลง ผลจากส่ง
ี
ื
ดังกล่าวทําให้ปริมาณเงินฝากภายในประเทศปรับลดลง และอาจส่งผลต่อความมีเสถียรภาพของ
เศรษฐกิจภายในประเทศด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ผลกระทบจากเร่องดังกล่าวจะมากหรือน้อยเพียงใด
ื
ย่อมขึ้นอยู่กับข้อกําหนดการจัดเก็บภาษี และอัตราภาษีที่กําหนดไว้ด้วย
37
1.3.4 ฐานภาษีทรัพย์สิน (Property Base)
แนวคิดการจัดเก็บภาษีฐานทรัพย์สิน เช่น ท่ดินและส่งปลูกสร้าง เกิดจากหลักสอง
ี
ิ
ประการ ประการแรกคือ การที่ผู้เสียภาษีได้รับสาธารณะประโยชน์ในทรัพย์สิน ไม่ว่าจะเป็นการ
ื
ื
ี
ท่รัฐสร้างโครงสร้างพ้นฐาน เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา หรือสาธารณะประโยชน์รูปแบบอ่น ๆ
ในบริเวณที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ ย่อมทําให้เจ้าของทรัพย์สินนั้นได้รับประโยชน์ เจ้าของทรัพย์สิน
ี
ี
จึงสมควรท่จะต้องเสียภาษีให้แก่รัฐ และประการท่สอง คือ เจ้าของทรัพย์สินยังหาประโยชน์
จากทรัพย์สินนั้นเพิ่มเติมได้ด้วย เช่น ให้เช่าทรัพย์สินนั้น ส่งผลให้ความสามารถในการเสียภาษี
34 Victor Thuronyi, Tax Law Design and Drafting Volume 1 (Washington DC: International Monetary Fund
Publication Services, 1996), pp. 292 - 293.
35 Leonard Burman and Joel Slemrod, Taxes in America: What Everyone Needs to Know, Second Edition
(New York: Oxford University Press, 2020), pp. 137 - 138.
36 Victor Thuronyi, Tax Law Design and Drafting Volume 1, p. 299.
37 Leonard Burman and Joel Slemrod, Taxes in America: What Everyone Needs to Know, Second Edition,
pp. 137 - 138.
229