Page 232 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 232

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




            (Ability to Pay) ของผู้เสียเพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม ในทางทฤษฎีนั้น แนวคิดประการที่สองจะ
            สมเหตุผลเมื่อพิสูจน์ได้ว่า ความสามารถในการเสียภาษีที่เจ้าของทรัพย์สินเพิ่มสูงขึ้นนั้นเท่ากับ
            จํานวนภาษีที่จะต้องเสียเพิ่มขึ้นด้วย สําหรับรูปแบบการจัดเก็บภาษีฐานทรัพย์สินอาจแบ่งออก

            ได้เป็นสามประเภท คือ คิดจากค่าเช่าของทรัพย์สิน (Rental Value) คิดจากมูลค่าของทรัพย์สิน
            (Capital Value) และคิดจากมูลค่าของที่ดินเพียงอย่างเดียว (Land Value) 38

                    การคิดฐานภาษีจากค่าเช่าของทรัพย์สิน เป็นการคิดโดยพิจารณาว่า ทรัพย์สินดังกล่าว
                                                                ึ
                                                                                      ู
                                                                                     ี
                                                                      ิ
                                  ่
                                  ี
                                         ุ
                                                                ่
                                                   ํ
                                                                                             ้
                                                                                             ี
            สามารถให้เช่าในอัตราทสมเหตผลได้เป็นจานวนเท่าใด ซงการพจารณาฐานภาษรปแบบนม            ี
            หลายประเทศที่ใช้ เช่น สาธารณรัฐอินเดีย สหพันธรัฐมาเลเซีย สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย
                                                                                           39
                      ส่วนการคิดฐานภาษีจากมูลค่าของทรัพย์สินเป็นการพิจารณาจากมูลค่าของท้ง
                                                                                             ั
                                 ั
            ท่ดินและส่งปลูกสร้างน้นว่ามีราคาตลาดเพียงใด ซ่งเป็นวิธีท่ใช้กันมากในกลุ่มประเทศท่เป็น
                                                          ึ
                      ิ
                                                                   ี
              ี
                                                                                           ี
            สมาชิก OECD  โดยวิธีการนี้มีข้อดีเพราะเป็นการลดข้อโต้แย้งเรื่องอัตราค่าเช่าที่สมเหตุผล ซึ่ง
                         40
                                                                   ั
            ในบางกรณีผู้เสียภาษีอาจโต้แย้งว่า การคิดภาษีจากค่าเช่าน้นไม่อาจทําได้ เพราะไม่มีการ
                                          ี
                                                       ี
            ได้รับประโยชน์จากค่าเช่า เช่น ท่ดินว่างเปล่าท่ไม่มีการเช่า แต่หากเป็นการคิดฐานภาษีจาก
            มูลค่าทรัพย์สินแล้วก็จะสามารถหามูลค่าของทรัพย์สินน้นได้เสมอ แม้ว่าจะไม่มีการเช่าหรือ
                                                               ั
            ทําประโยชน์เลยก็ตาม
                    สําหรับการคิดฐานภาษีจากมูลค่าของท่ดินเพียงอย่างเดียว เป็นการพิจารณามูลค่า
                                                       ี
            ของที่ดินเพียงอย่างเดียวเท่านั้น โดยไม่รวมถึงสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น เช่น ไม่รวมอาคาร ไม่รวม
                                                                                            ี
                             ั
                         ี
            พืชท่ปลูกบนท่ดินน้น ซ่งในปัจจุบันมีหลายประเทศใช้การประเมินฐานภาษีจากมูลค่าของท่ดิน
                                 ึ
                 ี
            เพียงอย่างเดียว เช่น ราชอาณาจักรนิวซีแลนด์ เครือรัฐออสเตรเลีย สาธารณรัฐแอฟริกาใต้
                                                                                           41
                                                            ี
                    ฐานภาษีทรัพย์สินมีผลดีต่อรัฐ ในประการท่ว่าสามารถเก็บได้เต็มจํานวน เพราะ
                                                                    ี
                                   ั
                                              ื
                                                  ี
            โดยสภาพแล้วทรัพย์สินน้นไม่อาจเคล่อนท่หรือเปล่ยนสถานท่ได้ ทําให้ผู้เสียภาษีไม่สามารถ
                                                          ี
                                                                           ่
                                                                           ี
            เปลยนแปลงสถานท่อันส่งผลต่อการคิดภาษีได้ ต่างจากฐานภาษรายได้ ทหากผ้เสียภาษีไม่สุจริต
                                                                                ู
                ่
                ี
                              ี
                                                                    ี
            อาจตรวจสอบได้ยากว่า ผู้เสียภาษีมีรายได้ที่แท้จริงเป็นจํานวนเท่าใด ส่วนฐานภาษีความมั่งคั่ง

                    38   Parthasarathi Shome, Tax Policy Handbook, p. 185.
                    39   John Norregaard, IMF Working Paper: Taxing Immovable Property Revenue Potential and
            Implementation Challenges [Online], Available URL: https://www.imf.org/external/pubs/ft/wp/2013/wp13129.pdf
            (updated 8 มีนาคม 2564).
                    40   Ibid.
                    41   Parthasarathi Shome, Tax Policy Handbook, p. 185.
            230
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237