Page 222 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 222

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




            ของการหารายได้ให้แก่รัฐจนอาจนําปสู่ความไม่สอดคล้องกับแนวคิด และทฤษฎี ที่เป็นพื้นฐาน
            ของการจัดเก็บภาษี

                    ดังนั้น เนื้อหาในหัวข้อนี้จะพิจารณาถึง แนวคิด ทฤษฎี และความหมายของภาษี ระบบ
                                                                                     ี
                                                                              ื
            การจัดเก็บภาษี วัตถุประสงค์การจัดเก็บภาษี และฐานภาษี อันเป็นหลักพ้นฐานท่สําคัญของ
            หลักกฎหมายภาษี
                    1.1  ความหมายของภาษี

                    ในทางทฤษฎีมีการให้ความหมายของภาษีว่า  ภาษีจะมีองค์ประกอบท่สําคัญอยู่
                                                                                     ี
                                                                                 ็
                                                            ้
            4 ประการ คอ เปนการจดเก็บตามท่กฎหมายกาหนด ดวยการประเมนและจดเกบโดยหนวยงาน
                                                                       ิ
                                                                              ั
                                                    ํ
                                           ี
                                 ั
                                                                                         ่
                       ื
                           ็
            ของรัฐ เป็นจํานวนเงินที่แน่นอน และมีวัตถุประสงค์ที่จะนําไปใช้เพื่อประโยชน์สาธารณะ
                                                                                         3
                    โดยนักกฎหมายบางท่านเห็นว่า จากหลักการข้างต้นอาจสรุปได้ว่าภาษีน้นคือ การจัดเก็บ
                                                                                 ั
                                   ึ
            เงินโดยอาศัยอํานาจรัฐ  ซ่งกระทําโดยรัฐ แต่ไม่ได้มีลักษณะต่างตอบแทนให้แก่ผู้เสียภาษีรายใด
            รายหนึ่งโดยเฉพาะ ทั้งนี้ เพื่อแก่การใช้จ่ายให้กับประโยชน์ของสาธารณะ  ซึ่งแม้ว่าจะเป็นการ
                                                                            4
            เก็บผลประโยชน์จากประชาชน แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นส่งท่ทําให้ประชาชนได้รับประโยชน์
                                                                ิ
                                                                   ี
            ด้วยเช่นกัน
                    เพื่อจะทําให้รัฐและประชาชนได้ประโยชน์สูงที่สุดจากการจัดเก็บภาษี ระบบการจัดเก็บ
            ภาษีท่ดีจึงพึงประกอบไปด้วย ความเป็นกลาง (Neutrality) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency)
                  ี
            ความแน่นอนและง่าย (Certainty and Simplicity) และความเท่าเทียมและยุติธรรม (Equity and
            Fairness)  5
                                           ั
                     ี
                    ท่กล่าวว่า ระบบภาษีท่ดีน้นต้องมีความเป็นกลาง เพราะภาษีจะต้องไม่กระทบต่อการ
                                        ี
            ตัดสินใจ หรือพฤติกรรมทางธุรกิจ ในลักษณะที่ว่าในทางอุดมคติแล้ว การตัดสินใจของธุรกิจจะ
            ไม่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะมีการเก็บภาษี หรือไม่มีการเก็บภาษีเลย เมื่อระบบภาษีมีความเป็นกลาง
            จะทําให้การตัดสินใจในทางธุรกิจเป็นไปตามปัจจัยจากการผลิต ความสามารถในการผลิต และ

            ผลกําไรในทางธุรกิจเท่านั้น
                                    6



                    3   Monica Bhandari, Philosophical Foundations of Tax Law (Oxford: Oxford University Press, 2017), p. 9.
                    4   William McCluskey, Gary Cornia and Lawrence Walters, A Primer on Property Tax Administration and
            Policy (UK: Blackwell Publishing Ltd, 2013), p. 188.
                    5   OECD, Addressing the Tax Challenges of the Digital Economy (Paris: OECD Publishing, 2015), p. 20.
                    6   Christiane Malke, Taxation of European Companies at the Time of Establishment and Restructuring
            (Germany: Gabler Verlag, 2010), p. 16.



            220
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227