Page 276 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 276

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                      ื
                    เน่องจากปัจจุบันการให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ประกอบการในต่างประเทศท  ี ่
                                                                    ิ
                                                                                  ั
                       ั
                                                            ี
            ผู้ใช้บริการน้นอยู่ในประเทศไทยส่งผลให้เกิดภาระภาษมูลค่าเพ่มตามประมวลรษฎากรอยู่แล้ว
            แต่ตามกฎหมายปัจจุบัน ผู้ใช้บริการเป็นผู้มีหน้าที่ในการยื่นแบบและนําส่งภาษีมูลค่าเพิ่มที่เกิด
            จากการให้บริการนั้น ดังนั้น ในทางปฏิบัติ กรมสรรพากรผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดเก็บภาษี
                                                        ิ
                                  ี
            ดังกล่าวจึงไม่สามารถท่จะจัดเก็บภาษีมูลค่าเพ่มท่เกิดจากธุรกรรมดังกล่าวได้อย่างท่วถึง
                                                           ี
                                                                                           ั
                                  ิ
                                                                ี
            พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่มเติมประมวลรัษฎากร  (ฉบับท่  53)  พ.ศ.  2564  จึงอาจช่วยให้
                                                          ิ
            กรมสรรพากรของไทยดําเนินการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพ่มจากการให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ของ
            ผู้ประกอบการในต่างประเทศได้มากข้น เน่องจากเป็นการกําหนดให้ผู้ประกอบการในต่างประเทศ
                                                ื
                                            ึ
            หรืออิเล็กทรอนิกส์แพลตฟอร์มที่เข้าหลักเกณฑ์มีหน้าที่จดทะเบียน ยื่นแบบแสดงรายการ และ
                            ิ
            ชําระภาษีมูลค่าเพ่มเอง แต่ภาระภาษีดังกล่าวก็ไม่ใช่ภาระภาษีโดยตรงของวิสาหกิจข้ามชาติหรือ
                                                                        ี
                                                             ิ
                                                                                         ื
            ผู้ประกอบการในต่างประเทศ เนื่องจากภาษีมูลค่าเพ่มเป็นภาษีท่ผลักภาระให้แก่ผู้ซ้อหรือ
            ผบริโภค เท่ากับว่าผู้ประกอบการในต่างประเทศท่ประกอบกิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยังคงทจะ
                                                      ี
              ู้
                                                                                            ่
                                                                                            ี
            สามารถประกอบกิจการให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยโดยปราศจากภาระภาษ           ี
                                                                                 ู
            เงนได้จากผลกําไรในการประกอบกจการดงกล่าวในประเทศไทย ตราบเท่าทผ้ประกอบการใน
                                                                                ่
              ิ
                                                                                ี
                                                 ั
                                           ิ
            ต่างประเทศนั้นไม่มีสถานประกอบการถาวร (ทางกายภาพ) ตามความแห่งอนุสัญญาภาษีซ้อน
            หรือไม่มีลูกจ้าง ผู้ทําการแทน หรือผู้ทําการติดต่อเช่นว่านั้นอันจะถือได้ว่านิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตาม
            กฎหมายของต่างประเทศประกอบกิจการในประเทศไทย ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 76 ทวิ
                       ั
                    ดังน้น หากประเทศไทยจะพิจารณาจัดเก็บภาษีเงินได้ในผลกําไรของผู้ประกอบการใน
            ต่างประเทศจากกิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ ก็อาจจะต้องพิจารณาขยาย
                                                                             ้
                                                                             ึ
                                                                       ี
                                                                        ั
                                                                           ั
                                                               ิ
            ความหมายของการประกอบกิจการในประเทศไทยของนติบคคลท่จดต้งขนตามกฎหมายของ
                                                                  ุ
            ต่างประเทศตามประมวลรัษฎากรให้ครอบคลุมไปถึงการปรากฏตัวทางเศรษฐกิจของผู้ประกอบ
                                                                            ่
            การในต่างประเทศในประเทศไทย โดยคํานึงถึงเหตุปัจจัยด้านรายได้ขั้นตําในประเทศไทย การ
            เข้าถึงลูกค้าในประเทศไทย และปริมาณผู้ใช้งานช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ประกอบการใน
            ต่างประเทศในประเทศไทย ตามแนวทาง “การปรากฏตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีนัยสําคัญ
            (significant economic presence)” ของ OECD ซึ่งหลาย ๆ ประเทศได้นําไปปรับใช้และบัญญัติ
            เป็นกฎหมายภายในประเทศดังได้กล่าวในหัวข้อท่ 4 แล้ว เพ่อท่ประเทศไทยจะไม่เป็นเพียง
                                                        ี
                                                                      ี
                                                                   ื
                                                                                             ึ
                                                                                        ี
            แหล่งเงินได้ให้แก่ผู้ประกอบการในต่างประเทศ แต่กลับไม่อาจจัดเก็บภาษีในเงินได้ท่เกิดข้น
            ในประเทศไทยได้เลย




            274
   271   272   273   274   275   276   277   278   279   280   281