Page 271 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 271
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
5. ความพยายามของประเทศไทยในการจัดเก็บภาษีจากกิจการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์
ึ
ั
ี
ในขณะท่เทคโนโลยีต่าง ๆ ท่วโลกมีการพัฒนามากข้น และเทคโนโลยีปัจจุบันได้
เปลี่ยนแปลงวิธีในการประกอบธุรกิจโดยเฉพาะการขายสินค้าและให้บริการ เป็นการขายสินค้า
ี
และให้บริการผ่านระบบอินเตอร์เน็ตหรือท่เราเรียกว่ากิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(e-commerce) โดยอาศัยแพลตฟอร์ม (platform) ต่าง ๆ ที่มีอยู่มากมาย เพื่อเสนอขายสินค้า
และบริการ ส่งผลให้การค้าขายและการให้บริการน้นไร้พรมแดน (borderless) และประเทศต่าง ๆ
ั
ท่วโลกต่างต่นตัวในการหาวิธีการในการดําเนินการจัดเก็บภาษีให้เป็นธรรม เม่อหันกลับมา
ื
ั
ื
ี
ี
ี
พิจารณากฎหมายท่เก่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษีท่มีอยู่ในปัจจุบันของประเทศไทย ก็พบกว่า
ี
กฎหมายปัจจุบันยังไม่เพียงพอท่จะจัดเก็บภาษีให้เกิดความเป็นธรรมในการแข่งขันทางการค้า
ั
ระหว่างธุรกิจท่ประกอบโดยวิธีแบบด้งเดิมและการค้าแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซ่งปัญหา
ึ
ี
ี
ั
ดังกล่าวต่างก็เป็นปัญหาท่ประเทศต่าง ๆ ท่วโลกต่างประสบพร้อมกันดังเช่นท่เราเห็นจาก
ี
ตัวอย่างความพยายามในการจัดเก็บภาษี และคดีที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ
็
ั
ุ
่
ั
ี
่
ี
ั
ั
ิ
ั
ี
อย่างไรกตาม ปัจจบนประเทศไทยยงมได้มการบญญติกฎหมายทเกยวข้องกบการ
ตีความคําว่าสถานประกอบการถาวร ให้รวมถึงท่ต้งของเซิร์ฟเวอร์ (Server) หรือให้นิยามของ
ั
ี
คําว่าสถานประกอบการถาวรให้รวมถึงสถานประกอบการถาวรเสมือน (Virtual Permanent
Establishment) อย่างเช่นท่เราเห็นจากความพยายามของต่างประเทศ ดังน้น บทบัญญัต ิ
ี
ั
ู
ี
ั
่
ั
หลกทเกยวข้องกบการจดเกบภาษเงนได้จากผ้ประกอบการต่างประเทศกยงคงเป็นบทบญญต ิ
ั
ั
ั
ั
ี
่
็
ี
ิ
็
ั
มาตรา 76 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ท่บัญญัติให้นิติบุคคลท่ต้งข้นตามกฎหมายของต่างประเทศ
ี
ี
ึ
ี
้
ู
ํ
้
ู
ทจะถอวามการประกอบกจการในประเทศไทยนน พจารณาจากการมลกจาง ผทาการแทน หรอ
ิ
้
่
ื
ี
ั
่
ิ
ี
ื
ผู้ทําการติดต่อในการประกอบกิจการในประเทศไทย ซ่งเป็นเหตุให้ได้รับเงินได้หรือผลกําไรใน
ึ
ประเทศไทย เช่นเดียวกับอนุสัญญาภาษีซ้อนระหว่างประเทศไทยกับประเทศคู่สัญญา ตัวอย่าง
เช่นประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ยังคงกําหนดความหมายของสถานประกอบการถาวรไว้ในลักษณะ
เดียวกันกับต้นแบบอนุสัญญาภาษีซ้อนของ OECD และ UN เป็นต้น
35
ี
ั
แต่ถึงกระน้น ปัจจุบันภาครัฐก็มีความพยายามท่จะพัฒนากฎหมายในการเก็บภาษ ี
ี
ื
อากรเพ่อเป็นการตอบสนองต่อการเปล่ยนแปลงของการค้าระหว่างประเทศแบบด้งเดิมสู่การค้า
ั
35 อนุสัญญาระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่งสหรัฐอเมริกาเพ่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อน
ื
และการป้องกันการเลี่ยงรัษฎากรในส่วนที่เกี่ยวกับภาษีเก็บจากเงินได้ สืบค้นวันที่ 1 มีนาคม 2564 จาก https://www.rd.go.
th/2664.html#article5.
269