Page 89 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 89
´ØžÒË
การไดขอเท็จจริงดังกลาวมาภายหลัง หากมีการใชแนวทางการสอบสวนในลักษณะดังกลาว
ตามแนวทางของกฎหมายเยอรมัน ซึ่งใหพนักงานอัยการเปนผูควบคุมการสอบสวน ก็นาจะทํา
ใหการไดขอเท็จจริงดังกลาวมาเสนอตอศาลมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น
๓) การกําหนดใหระยะเวลาในการสอบสวนไมขึ้นอยูกับระยะเวลาในการฟองรองคดี
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๗ ไดวางหลักในการ
คุมครองสิทธิของผูตองหาไวใหการดําเนินการฟองรองในทางอาญาของไทยตองอยูภายใต
ระยะเวลาตามที่บทบัญญัติดังกลาวกําหนดไว ซึ่งทําใหเกิดปญหาโดยเฉพาะตอพนักงานอัยการ
ที่ไมสามารถตรวจสอบการสอบสวนของพนักงานสอบสวนที่ไดดําเนินการมาได
อยางมีประสิทธิภาพเนื่องจากถูกจํากัดโดยระยะเวลาตามที่กําหนดไวในประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๗ โดยเฉพาะอยางยิ่งในคดีที่มีพยานบุคคลเปนจํานวนมาก
หรือคดีที่มีความยุงยากสลับซับซอน เปนตน อันเปนผลใหการสั่งฟองคดีของพนักงานอัยการ
ไมสามารถที่จะทําไดอยางมีประสิทธิภาพเนื่องจากระยะเวลามีจํากัด การนําหลักการในเรื่อง
กําหนดระยะเวลาในการควบคุมตัวตามกฎหมายเยอรมันที่ไมไดผูกติดกับระยะเวลาในการ
ฟองคดีมาปรับใชกับประเทศไทย นาจะชวยใหการสั่งคดีของพนักงานอัยการมีความสมบูรณขึ้น
เพราะทั้งพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการจะมีเวลาในการสอบสวนที่เพิ่มขึ้นจาก
๘๔ วัน เปน ๑๘๐ วัน ซึ่งทําใหพนักงานอัยการมีเวลาในการพิจารณาพยานหลักฐาน
อยางรอบคอบกอนออกคําสั่งฟองคดี
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย, รายงานผลการดําเนินงานปองกันและ
ปราบปรามการคามนุษยของประเทศไทย ประจําป ๒๕๕๙, กรุงเทพมหานคร :
กองตอตานการคามนุษย, ๒๕๖๐.
กองตอตานการคามนุษย. คูมือการปราบปรามการคามนุษย และคุมครองชวยเหลือผูเสียหายจาก
การคามนุษย. กรุงเทพฯ : สํานักงานปลัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย ๒๕๖๐.
๗๘ เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕