Page 86 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 86

´ØžÒË





                         ๕)  การทําระบบขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินคดีคามนุษยใหเปนระบบเดียวกัน

                 ทั้งกระบวนการ โดยเริ่มบันทึกคดีที่เขามา และใชรูปแบบการบันทึกตอเนื่องไปถึงการลงโทษ
                 จําเลยในเรือนจําจนถึงการพนโทษ ทั้งนี้ ควรใชงบประมาณของกองทุนปองกันและปราบปราม

                 การคามนุษยเพื่อการจัดทําระบบขอมูลกลาง เชนนี้จะทําใหพนักงานเจาหนาที่แตละขั้นตอน
                 สามารถเขาถึงและติดตามตรวจสอบไดวาคดีไปถึงขั้นตอนใดทั้งที่เปนการดําเนินคดีแก

                 ผูกระทําความผิดและการชวยเหลือเยียวยาผูเสียหายในคดีคามนุษย
                         ๖)  การรวบรวมพยานหลักฐานในคดีคามนุษย ควรมีการปรับปรุงเพื่อใหมีการ

                 รวบรวมพยานทั้งที่เปนคุณและเปนโทษกับผูตองหาซึ่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

                 มาตรา ๑๓๑ บัญญัติไวแลว รวมถึงการรวบรวมพยานหลักฐานของฝายผูเสียหายในเรื่อง
                 ของความเสียหายที่ไดรับและความตองการที่จะใหจําเลยชดใชคาเสียหายดวย เพื่อเปนขอมูล

                 ที่สมบูรณครบถวนในการไตสวนคดีของศาล ศาลจะตองมีพยานหลักฐานที่ครบถวนทั้งฝายโจทก
                 และฝายจําเลยเพื่อจะไดไตสวนใหไดความวาขอเท็จจริงและพยานหลักฐานเปนอยางไร

                 ซึ่งการรวบรวมพยานหลักฐานดังกลาว หากมีพนักงานอัยการรวมในการสอบสวนตั้งแต
                 ตนคดี เชนเดียวกับการสอบสวนของพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ หรือคดีกระทําความผิด

                 นอกราชอาณาจักรก็จะสามารถทําใหไดพยานหลักฐานที่ครบถวนและพนักงานอัยการ

                 ไดมีโอกาสเห็นพยานหลักฐานกอนที่สํานวนจะสงมายังพนักงานอัยการ ดังนั้น แนวทางของ
                 ฝรั่งเศส เยอรมัน และญี่ปุนที่ใหพนักงานอัยการรับผิดชอบการสอบสวน หรือการประสานงาน

                 อยางใกลชิดและแบงหนาที่กันชัดเจนระหวางพนักงานอัยการกับตํารวจในอังกฤษ อาจนํามา
                 ปรับใชใหเหมาะสมกับการประสานงานการสอบสวนในคดีคามนุษยของไทย โดยใหตํารวจ

                 สอบสวนและใหพนักงานอัยการเขารวมสอบสวนไดในแนวทางเดียวกับการสอบสวนคดีพิเศษ
                 และใหพนักงานสอบสวนมีอํานาจสอบสวนพิเศษในทํานองเดียวกับพนักงานสอบสวนคดีพิเศษดวย

                 ดังนั้น  การแกไขจึงควรเพิ่มในสามกรณี  ดังนี้

                         กรณีที่หนึ่ง ใหการสอบสวนคดีคามนุษย เปนคดีที่พนักงานอัยการเขารวมสอบสวน
                 เชนเดียวกับคดีสอบสวนคดีพิเศษ  เพื่อเขามาประสานงานและวางรูปคดีตั้งแตเริ่มแรก

                         กรณีที่สอง ควรมีสหวิชาชีพ โดยเฉพาะนักสังคมสงเคราะห นักจิตวิทยา หรือ
                 เจาพนักงานแรงงาน เพื่อเขามารวมกันจัดทํารายงานผลกระทบของผูเสียหายอันเกิดจาก

                 การคามนุษย ตลอดจนความจําเปนในการไดรับการเยียวยาในดานตางๆ และความเสี่ยง
                 ที่จะตกเปนเหยื่อซํ้า ทั้งนี้ หากรายงานผลกระทบของผูเสียหายไดจัดทําและนําเสนอพรอมกับ






                 มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑                                                        ๗๕
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91