Page 88 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 88

´ØžÒË





                 ลวงหนาที่จะสอบถามใหครบถวนแทนจําเลย เพื่อเปนการคุมครองจําเลยที่ไมมีโอกาสซักคาน

                 พยานฝายผูเสียหาย
                         ๘)  ประสานความรวมมือกับองคกรเอกชนที่ไมแสวงหากําไรที่ทํางานเกี่ยวกับผูลี้ภัย
                 หรือชวยเหลือเหยื่อในคดีคามนุษย หรือผูหญิงหรือเด็กในการดูแลผูเสียหาย แจงเบาะแส

                 ของการกระทําความผิด ประสานงานในการจัดหาลาม หรือประสานงานกับองคกรเอกชน

                 ที่ไมแสวงหากําไรในตางประเทศเพื่อประสานขอมูลในการสืบสวนหาเครือขายในการคามนุษย
                 ทั้งในและนอกประเทศ เพื่อใหกระบวนการสอบสวนและการรวบรวมพยานหลักฐาน

                 และการคุมครองผูเสียหายเปนไปโดยมีประสิทธิภาพ

                         ๒.๓  หลักการที่ควรพัฒนาเพื่อนํามาใชกับการสอบสวนของไทยในคดีทุจริต

                 คามนุษยในแนวทางของกฎหมายเยอรมัน

                         คณะผูวิจัยมีขอเสนอแนะในการพัฒนาระบบสอบสวน ดังนี้

                         ๑)  การกําหนดใหพนักงานอัยการเปนผูควบคุมการสอบสวน
                         จากประสบการณของประเทศเยอรมัน การจะกําหนดใหพนักงานอัยการมาควบคุม

                 การสอบสวนในคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมถึงคดีคามนุษยดวยนั้น แมวาในสวนของ
                 ประเทศเยอรมันจะมีปญหาของการทํางานรวมกันระหวางองคกรอัยการและองคกรตํารวจ

                 อยางที่กลาวไวขางตนแลวก็ตาม แตในประเทศเยอรมันก็ไดแกไขขอขัดของดังกลาวดวย

                 การทําขอตกลงระหวางหนวยงานขององคกรอัยการและองคกรตํารวจ หากเราพิจารณาขอตกลง
                 ตามแนวทางดังกลาวในบทที่ ๓ สิ่งหนึ่งที่จะเห็นไดชัดก็คือ ปญหาในเรื่องของความเขาใจ

                 และไววางใจระหวางเจาพนักงานของทั้งสององคกร รวมถึงการคุมครองสิทธิของผูตองหา
                 และจําเลยนาจะไดรับการคุมครองเพิ่มมากขึ้น และเกิดความสมบูรณของสํานวนมากขึ้น

                 เนื่องจากเมื่อพนักงานอัยการเขามาควบคุมการสอบสวนแลวยอมทําใหพยานหลักฐานที่จําเปน
                 ตองใชในการสืบพยานในชั้นศาลไดรับการพิจารณาเขามาในสํานวนการสอบสวนตั้งแตเริ่มตน

                 เปนตน

                         ๒)  การสอบสวนที่คลุมถึงขอเท็จจริงที่ศาลตองใชในการกําหนดโทษ
                         หลักการดังกลาวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเยอรมันไดมีการ

                 กําหนดไวในมาตรา ๑๖๐ (๓) ในขณะที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
                 ของไทยไมไดกําหนดหลักการในทํานองดังกลาวไว ในทางปฏิบัติแมศาลจะสามารถหาขอเท็จจริง

                 ดังกลาวไดจากการสืบเสาะและพินิจโดยผานทางเจาพนักงานคุมประพฤติก็ตาม แตก็เปน




                 มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑                                                        ๗๗
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93