Page 87 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 87

´ØžÒË





              การสั่งฟองหรือสั่งไมฟองของพนักงานอัยการแลว ก็จะทําใหศาลมีขอมูลที่จะพิจารณาลงโทษ

              และสั่งใหจําเลยชดใชความเสียหายใหแกผูเสียหายไดอยางถูกตอง
                      กรณีที่สาม หากมีผูเสียหายหรือผูตองหาที่เปนคนตางดาว มีความจําเปนตองจัด

              ระบบการชวยเหลือโดยมีลามใหแกทั้งผูเสียหายและผูตองหา ทั้งนี้ จากขอมูลที่ไดจาก
              เจาพนักงานที่ชวยเหลือเหยื่อในคดีคามนุษยพบวามีปญหาในเรื่องของการจัดหาลามซึ่งตรงกับ

              ภาษาที่เหยื่อหรือผูตองหาเขาใจ ทั้งนี้ เพราะในบางกรณี เชน ผูเสียหายชาวโรฮินจาเปนภาษา
              ที่เฉพาะจะใชภาษาของพมาไมได จึงทําใหเกิดการสื่อสารที่ไมตรงกับขอเท็จจริง ในทํานอง

              กลับกันหากเปนผูตองหาหรือจําเลยที่เปนชาวตางชาติก็ตองมีลามใหเชนเดียวกัน เพื่อ

              กอใหเกิดความเปนธรรมในการดําเนินคดี
                      ๗)  การประสานคดีในกรณีที่ตองการขอมูลในตางประเทศ มีความจําเปนตอง

              ประสานกับสํานักงานอัยการสูงสุดในการขอความรวมมือระหวางประเทศในทางอาญา
              และการประสานเพื่อสงผูรายขามแดน รวมถึงการที่จะตองประสานงานเพื่อชวยผูเสียหาย

              ในตางประเทศที่ถูกลอลวงหรือบังคับใหไปทํางานในตางประเทศและกลับถูกนําไปคามนุษย
              แตพนักงานสอบสวนจะตองรับผิดชอบในการจัดเตรียมเอกสารเพื่อใหพนักงานอัยการ

              ดําเนินการขอความรวมมือระหวางประเทศในทางอาญา จึงตองพัฒนาการแปลเอกสารจาก

              ภาษาไทยเปนภาษาที่ประเทศปลายทางที่ตองการความชวยเหลือ รวมถึงการจัดทําขอตกลง
              ความรวมมือในความรวมมือและชวยเหลือเหยื่อในคดีคามนุษยเหมือนเชนในความรวมมือ
              ในประเทศอาเซียน

                      สวนปญหาเรื่องการสืบพยานที่ตองกระทําตอหนาจําเลย มิฉะนั้นจะทําใหพยานหลักฐาน

              มีนํ้าหนักนอย โดยเฉพาะพยานหลักฐานที่เปนผูเสียหายในตางประเทศ แมวาจะมีการสืบพยาน
              ไวกอนลวงหนาแตเปนพยานหลักฐานที่จําเลยไมมีโอกาสซักคานจึงมีนํ้าหนักนอย จําเปนตอง

              หาพยานหลักฐานอื่นมาประกอบการพิจารณา ดวยเหตุนี้ หากมีการประสานความรวมมือ
              เพื่อใหมีการสืบพยานโดยทาง Teleconference เพื่อใหผูเสียหายเบิกความที่ตางประเทศ

              แลวสงสัญญาณภาพมาสืบพยานในศาลไทย และใหจําเลยมีโอกาสซักคานพยานของโจทก
              ความบริสุทธิ์ของจําเลยได ทั้งนี้ มาตรการดังกลาวศาลสามารถดําเนินการไดตามวิธีพิจารณา

              คดีคามนุษย  เพียงแตตองประสานความรวมมือกับผูเสียหายเพื่อดําเนินการดังกลาว
                      อยางไรก็ดี ในการไตสวนคดีของศาลนั้นหากเปนบทบาทของศาลไตสวน ศาลจะทํา

              หนาที่ไตสวนพยานหลักฐานไมวาจะเปนพยานผูเสียหายหรือพยานของจําเลย ซึ่งในกรณีนี้
              หากมีความจําเปนที่จะตองสืบพยานกอนลวงหนาควรมีแนวทางปฏิบัติของศาลที่สืบพยาน




              ๗๖                                                              เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92