Page 27 - คู่มือปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุตจริตฯ
P. 27

คู่มือการปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
                                                                                                        | 16



                     พนักงานอัยการ ประธานกรรมการ ป.ป.ช. หรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นโจทก์ ทางปฏิบัติ

                     ศาลจะมีค าสั่งประทับฟ้องในวันฟ้องทันที โดยเจ้าพนักงานคดีจะช่วยตรวจฟ้องก่อนเสนอ

                     ส านวนแก่ผู้พิพากษา



                     1.3 การสั่งฟ้องของศาล


                                การสั่งฟ้องของศาลมี 4 กรณี ได้แก่ ฟ้องถูกต้อง ฟ้องไม่ถูกต้อง ไม่ประทับฟ้อง


                     และพิพากษายกฟ้อง


                                1.๓.๑ ฟ้องถูกต้อง


                                เมื่อฟ้องถูกต้องแล้วต้องด าเนินการต่อไปตาม พ.ร.บ. วิ. ทุจริตฯ มาตรา ๑๖ โดย

                     แยกเป็นกรณีต่าง ๆ ดังนี้


                                (1) อัยการสูงสุดหรือประธานกรรมการ ป.ป.ช. เป็นโจทก์


                                ไม่ต้องไต่สวนมูลฟ้อง ตาม พ.ร.บ. วิ. ทุจริตฯ มาตรา ๑๖ (๓)

                                สั่งที่หน้าฟ้องว่า



                                   “ประทับฟ้อง  ส าเนาให้จ าเลย

                                   หมายขังจ าเลยไว้ เว้นแต่มีประกัน”


                                (2) พนักงานอัยการหรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นโจทก์


                                ไม่จ าเป็นต้องไต่สวนมูลฟ้อง เว้นแต่ศาลเห็นสมควร ตาม พ.ร.บ.วิ. ทุจริตฯ


                     มาตรา ๑๖ (๒)

                                      - ไม่ไต่สวนมูลฟ้อง

                                      สั่งที่หน้าฟ้องว่า


                                         “ประทับฟ้อง  ส าเนาให้จ าเลย

                                         หมายขังจ าเลยไว้ เว้นแต่มีประกัน”


                                      เมื่อศาลมีค าสั่งให้ประทับฟ้องแล้ว ศาลต้องด าเนินการเกี่ยวกับทนายความ

                     ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 173 แล้วจัดส่งส าเนาฟ้องให้แก่จ าเลย อ่านและอธิบายฟ้องให้จ าเลยฟัง
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32