Page 21 - Q8 -
P. 21

20

                              2) การตรวจราชการแบบบูรณาการ เปนการตรวจราชการที่จะเชื่อมโยงการตรวจราชการ

                    ทุกระดับ ทั้งแนวดิ่งและแนวขวาง (Vertical  and  Horizontal  Integration)  ทั้งระดับสํานักงาน
                    ศาลยุติธรรม สํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค และศาลที่รับการตรวจ การเชื่อมโยงนี้จะเปน
                    การเชื่อมโยงดานขอมูล การจัดทําแผนการตรวจราชการ การปฏิบัติการตรวจราชการและการรายงานผล

                    เพื่อใหการตรวจราชการมีเอกภาพประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สอดคลองกับการบริหารราชการ
                    ศาลยุติธรรมในยุคปจจุบันที่ใหความสําคัญกับยุทธศาสตร ซึ่งจะเชื่อมโยงระหวางยุทธศาสตรชาติ
                    กับยุทธศาสตรศาลยุติธรรมในดานตาง ๆ
                              3) การตรวจราชการที่มุงผลสัมฤทธิ์ เปนการตรวจราชการที่มีระบบการติดตามและ

                    ประเมินผลโดยมุงเนนผลสัมฤทธิ์โดยเปรียบเทียบผลงานที่เกิดขึ้นจริงกับวัตถุประสงคและเปาหมายที่
                    ระบุไวในตัวชี้วัดตามที่ผูบริหารขององคกรในแตละระดับกําหนดไวในแผนกลยุทธ รวมทั้งการประเมิน
                    ภาพรวมของแผนยุทธศาสตรเพื่อเสนอแนะเชิงนโยบายและการพัฒนาองคกร
                              4) การตรวจราชการแบบการมีสวนรวม เปนการตรวจราชการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล

                    สรางความโปรงใสและใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของทุกสวนที่เกี่ยวของ ทั้งผูตรวจและหนวยที่
                    รับตรวจ และเปดใหภาคประชาชนและกลุมประชาสังคมเขามามีสวนรวมในการสอดสองแสดงความ
                    คิดเห็นผานกลองรับฟงความคิดเห็น หรือระบบการแสดงความคิดเห็นอิเล็กทรอนิกส เพื่อเปนขอมูล
                    ใหแกผูบริหารหนวยงานดําเนินการวิเคราะหแกไขปญหาโดยมีประชาชนเปนศูนยกลาง


                             ๑.๔.๓ ระบบโครงสรางการตรวจราชการ
                                                                                                  1
                             รูปแบบของการจัดโครงสรางของระบบการตรวจราชการสามารถแยกออกเปน 3 รูปแบบ  ดังนี้
                             1) การจัดโครงสรางแบบการรวมศูนยการตรวจราชการ (Centralized  Inspection

                    System) ประเทศที่ใชรูปแบบการรวมศูนยราชการ ไดแก ประเทศญี่ปุน ซึ่งมีลักษณะสอดคลองกับ
                    โครงสรางการบริหารราชการแผนดิน โดยรวมผูตรวจราชการและเจาหนาที่จะอยูภายใตสังกัดเดียวกัน
                    คือ สํานักตรวจราชการ (Administrative  Inspection  Bureau)  ซึ่งเปนหนวยงานภายใตสํานักงาน
                    บริหารและประสานงาน(Management  and  Coordination  Agency)  สํานักนายกรัฐมนตรี

                    การจัดโครงสรางในรูปแบบรวมศูนยการตรวจราชการมีขอดี คือ มีความเปนเอกภาพในการตรวจ
                    ราชการของประเทศ การกําหนดประเด็นและคัดเลือกแผนงาน/โครงการเพื่อวางแผน และการตรวจ
                    ราชการสามารถทําไดสอดคลองกนอยางเปนระบบแตรูปแบบเชนนี้ก็มีขอเสียในแงของการแยกสวน

                    ภารกิจดานระบบการควบคุมภายในทางการบริหารออกไปจากหัวหนาหนวยงาน ซึ่งอาจสงผลทําให
                    ระบบการบริหารจัดการของหนวยงานเกิดความออนแอได
                             2) การจัดโครงสรางกระจายการตรวจราชการ (Decentralized  Inspection  System)
                    ประเทศที่ใชรูปแบบเชนนี้ ไดแก ประเทศสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และอังกฤษ โดยจะมีการแตงตั้งผูตรวจ
                    ราชการประจําของแตละหนวยงานไวเปนการเฉพาะไมไดรวมกันไวในหนวยงานกลาง ซึ่งการจัดระบบ

                    การตรวจราชการแบบนี้อาจจะมีปญหาในดานเอกภาพและการประสานงาน ดังนั้น จึงไดมีการสราง
                    กลไกและจัดวางระบบการประสานงานใหเปนไปในทิศทางและอยูภายใตเกณฑมาตรฐานเดียวกัน



                          1
                               ขอมูลจากสํานักปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26